Page 52 - รายงานน้ำโรงเรียน 60 รูปแบบ 2
P. 52

โครงการพัฒนาแหลงน้ําบาดาลเพื่อสนับสนุนน้ําดื่มสะอาดใหกับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560


                    1.ที่ตั้งและลักษณะภูมิประเทศ

                            โรงเรียนบานโพธิ์ไทรทองวิทยา หมูที่ 8 ตําบลไผลอม อําเภอบานแพง จังหวัดนครพนม ตั้งอยูบริเวณพิกัด
                    Zone 48Q UTME 0413730 UTMN 1991371 ระวางแผนที่ 5844IV ชื่อระวาง อําเภอบานแพง ตามแผนที่ภูมิ

                    ประเทศมาตราสวน 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปติดภูเขาลังกา พื้นที่ราบลุม น้ําทวมในฤดู
                    ฝน ฤดูแลงขาดน้ําในการเกษตร แหลงน้ําธรรมชาติตื้นเขิน ลําบากในการประกอบอาชีพในฤดูแลง มีระดับสูงจากน้ํา

                    ทะเลประมาณ 154 เมตร
                    2.ลักษณะทางอุทกธรณีวิทยา

                            โรงเรียนบานโพธิ์ไทรทองวิทยา หมูที่ 8 ตําบลไผลอม อําเภอบานแพง จังหวัดนครพนม รองรับดวยรองรับ
                    ดวยชั้นหินอุมน้ําหินชุดหินมหาสารคามประกอบดวยหินโคลนหินทรายแปงและเกลือหินอยูสลับกันฉะนั้นการพัฒนาน้ํา

                    บาดาลควรมีความลึก 20-40 เมตรถาลึกมากกวานี้โอกาสที่จะไดน้ําเค็มสูงน้ําบาดาลจะพบกักเก็บในรอยแตกรอยแยก
                    ของหินทั้งสองชุดดังกลาวขั้นตนปริมาณน้ําโดยเฉลี่ย 10-20 ลบ.ม./ชม. ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายไดนอยกวา 750
                    มก./ลิตร

                    3.การสํารวจธรณีฟสิกสโดยวิธีวัดความตานทานไฟฟา
                            คณะสํารวจไดดําเนินการสํารวจธรณีฟสิกสดวยการวัดความตานทานไฟฟา โดยวางขั้วไฟฟาแบบชลัมเบอร

                    เจอร ทําการสํารวจแบบ Soundings จํานวน 10 จุดสํารวจ โดยแตละจุดสํารวจสํารวจถึงระยะ AB/2 เทากับ 100-150
                    เมตร เพื่อใหไดขอมูลความลึกของชั้นหินแข็ง

                            ขอมูลที่ไดจากการวัดคาความตานทานไฟฟาของแตละจุดสํารวจ จะนํามาทําการคํานวณผลเปนคาความ
                    ตานทานไฟฟาปรากฏ (Apparent resistivity) มีหนวยเปนโอหม-เมตร และในการสํารวจที่จุดสํารวจเดียวกัน เมื่อทํา

                    การขยายขั้วของการปลอยกระแสไฟฟากวางออกไป จะไดคาความตานทานไฟฟาปรากฏที่แตกตางกันของขั้วปลอยแระ
                    แสไฟฟา ซึ่งคาความตานทานไฟฟาปรากฏในแตละระยะของขั้วปลอยกระแสไฟฟาจะนํามา plot เปนรูปกราฟ ซึ่งใน

                    การแปลความหมายจะนํามาเปรียบเทียบเสนกราฟ (Matching curve) จากทฤษฎี โดยการจําลองคาความหนาชั้น
                    ตางๆดวยคอมพิวเตอร (Computer modeling) จะไดคาความลึก ความหนาของชั้นดินชั้นหิน บริเวณที่ทําการสํารวจ

                            ผลการสํารวจธรณีฟสิกสและศึกษาขอมูลทางอุทกธรณีวิทยา สามารถแปลความหมายขั้นตนโดยใชโปรแกรม
                    IPI2WIN ในการประมวลผลไดดังตาราง และจากผลการแปลความหมายคณะสํารวจไดกําหนดจุดที่เหมาะสมในการ
                    เจาะบอน้ําบาดาล คือจุดสํารวจที่ SPT-1 ระดับความลึกประมาณ 40-50 เมตร ดังแสดงในรูป














                    สํานักทรัพยากรน้ําบาดาล เขต 10 อุดรธานี                                                หนา 42
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57