Page 64 - รายงานน้ำโรงเรียน 60 รูปแบบ 2
P. 64
โครงการพัฒนาแหลงน้ําบาดาลเพื่อสนับสนุนน้ําดื่มสะอาดใหกับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560
โรงเรียนชุมชนบานโคกอุดม หมูที่ 11 ตําบลพรเจริญ อําเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ
1. ที่ตั้งและลักษณะภูมิประเทศ
พื้นที่บริเวณโรงเรียนชุมชนบานโคกอุดม หมูที่ 11 ตําบลพรเจริญ อําเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ
ตั้งอยูบริเวณพิกัด Zone 48Q UTME 0363992 UTMN 1994953 ระวางแผนที่ 5745 III ตามแผนที่ภูมิประเทศมาตรา
สวน 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร ภูมิประเทศโดยทั่วไปเปนพื้นที่ราบลุม มีลักษณะเปนลอนคลื่น ใกลกับแมน้ําโขง มี
ความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางประมาณ 177 เมตร
2. ลักษณะทางอุทกธรณีวิทยา
พื้นที่บริเวณโรงเรียนชุมชนบานโคกอุดม หมูที่ 11 ตําบลพรเจริญ อําเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ
รองรับดวยชั้นหินใหน้ําหินมหาสารคาม ประกอบดวย หินทราย หินทรายแปง หินดินดาน หินโคลน เกลือหินในชวงลาง
น้ําบาดาลอยูในรอยแยก รอยแตก รอยตอระหวางชั้นหินและบริเวณหินผุ ความลึกของชั้นน้ําบาดาลอยูในชวง 20-50
เมตร ปริมาณน้ําอยูในเกณฑระหวาง 2 - 10 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายไดระหวาง 500 –
1,500 มิลลิกรัมตอลิตร
3. การสํารวจธรณีฟสิกสโดยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ
คณะสํารวจไดดําเนินการสํารวจธรณีฟสิกสดวยการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ โดยวาง
ขั้วไฟฟาแบบชลัมเบอรเจอร ทําการสํารวจแบบ Soundings จํานวน 8 จุดสํารวจ โดยแตละจุดสํารวจสํารวจถึงระยะ
AB/2 เทากับ 100 – 150 เมตร เพื่อใหไดขอมูลความลึกของชั้นหินแข็ง
ขอมูลที่ไดจากการวัดคาความตานทานไฟฟาของแตละจุดสํารวจ จะนํามาทําการคํานวณผลเปนคา
ความตานทานไฟฟาปรากฏ (Apparent resistivity) มีหนวยเปนโอหม-เมตร และในการสํารวจที่จุดสํารวจเดียวกัน
เมื่อทําการขยายขั้วของการปลอยกระแสไฟฟากวางออกไป จะไดคาความตานทานไฟฟาปรากฏที่แตกตางกันของขั้ว
ปลอยกระแสไฟฟา ซึ่งคาความตานทานไฟฟาปรากฏในแตละระยะของขั้วปลอยกระแสไฟฟาจะนํามา plot เปน
รูปกราฟ ซึ่งในการแปลความหมายจะนํามาเปรียบเทียบเสนกราฟ (Matching curve) จากทฤษฎี โดยการจําลองคา
ความหนาชั้นตางๆดวยคอมพิวเตอร (Computer modeling) จะไดคาความลึก ความหนาของชั้นดินชั้นหิน บริเวณที่
ทําการสํารวจ
ผลการสํารวจธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ และการศึกษาขอมูลทาง
อุทกธรณีวิทยา สามารถแปลความหมายขั้นตนโดยใชโปรแกรม IPI2WIN ในการประมวลผลไดดังตาราง และจากผลการ
แปลความหมายคณะสํารวจไดกําหนดจุดที่เหมาะสมในการเจาะบอน้ําบาดาล คือจุดสํารวจ ที่ KD1 ระดับความลึก
ประมาณ 40-50 เมตร ดังแสดงในรูป
สํานักทรัพยากรน้ําบาดาล เขต 10 อุดรธานี หนา 54