Page 66 - รายงานน้ำโรงเรียน 60 รูปแบบ 2
P. 66

โครงการพัฒนาแหลงน้ําบาดาลเพื่อสนับสนุนน้ําดื่มสะอาดใหกับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560


                    โรงเรียนบานตาลเดี่ยว หมูที่ 4 ตําบลทาสะอาด อําเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ

                    1.ที่ตั้งและลักษณะภูมิประเทศ
                            โรงเรียนบานตาลเดี่ยว หมูที่ 4 ตําบลทาสะอาด อําเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ ตั้งอยูบริเวณพิกัด Zone 48Q

                    UTME 0364487 UTMN 1984184 ระวางแผนที่ 5744I ชื่อระวาง อําเภอเซกา ตามแผนที่ภูมิประเทศมาตราสวน
                    1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร ลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบลุม มีแมน้ําสงครามเปนสายหลักและหวยสาขา มี

                    ระดับสูงจากน้ําทะเลประมาณ 150 เมตร
                    2.ลักษณะทางอุทกธรณีวิทยา

                            โรงเรียนบานตาลเดี่ยว หมูที่ 4 ตําบลทาสะอาด อําเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ รองรับดวยรองรับดวยชั้นหินอุม
                    น้ําหินชุดภูทอก/มหาสารคาม ประกอบดวย หินทรายแปง หินดินดานและหินทรายแปง สีสมแดงถึงมวงแดงมีชั้นเกลือ

                    หินปรากฏอยูที่ระดับความลึกประมาณ 100 เมตร ลงไป น้ําบาดาลถูกกักเก็บอยูภายในรอยแตก รอยแยก รอยตอ
                    ระหวางชั้นหิน ความลึกของชั้นน้ําบาดาลโดยเฉลี่ยอยูในชวง 50-80 เมตร ปริมาณน้ําอยูในเกณฑระหวาง 2-10 ลบ.ม./
                    ชม. ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายไดนอยกวา 750 มก./ลิตร

                    3.การสํารวจธรณีฟสิกสโดยวิธีวัดความตานทานไฟฟา
                            คณะสํารวจไดดําเนินการสํารวจธรณีฟสิกสดวยการวัดความตานทานไฟฟา โดยวางขั้วไฟฟาแบบชลัมเบอร

                    เจอร ทําการสํารวจแบบ Soundings จํานวน 10 จุดสํารวจ โดยแตละจุดสํารวจสํารวจถึงระยะ AB/2 เทากับ 100-150
                    เมตร เพื่อใหไดขอมูลความลึกของชั้นหินแข็ง

                            ขอมูลที่ไดจากการวัดคาความตานทานไฟฟาของแตละจุดสํารวจ จะนํามาทําการคํานวณผลเปนคาความ
                    ตานทานไฟฟาปรากฏ (Apparent resistivity) มีหนวยเปนโอหม-เมตร และในการสํารวจที่จุดสํารวจเดียวกัน เมื่อทํา

                    การขยายขั้วของการปลอยกระแสไฟฟากวางออกไป จะไดคาความตานทานไฟฟาปรากฏที่แตกตางกันของขั้วปลอยแระ
                    แสไฟฟา ซึ่งคาความตานทานไฟฟาปรากฏในแตละระยะของขั้วปลอยกระแสไฟฟาจะนํามา plot เปนรูปกราฟ ซึ่งใน

                    การแปลความหมายจะนํามาเปรียบเทียบเสนกราฟ (Matching curve) จากทฤษฎี โดยการจําลองคาความหนาชั้น
                    ตางๆดวยคอมพิวเตอร (Computer modeling) จะไดคาความลึก ความหนาของชั้นดินชั้นหิน บริเวณที่ทําการสํารวจ

                            ผลการสํารวจธรณีฟสิกสและศึกษาขอมูลทางอุทกธรณีวิทยา สามารถแปลความหมายขั้นตนโดยใชโปรแกรม
                    IPI2WIN ในการประมวลผลไดดังตาราง และจากผลการแปลความหมายคณะสํารวจไดกําหนดจุดที่เหมาะสมในการ
                    เจาะบอน้ําบาดาล คือจุดสํารวจ ที่ STD-1 ระดับความลึกประมาณ 50-60 เมตร ดังแสดงในรูป














                    สํานักทรัพยากรน้ําบาดาล เขต 10 อุดรธานี                                                หนา 56
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71