Page 24 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี61
P. 24

โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค
                      ประจ้าปีงบประมาณ 2561


                                                              บทที่ 1


                                                              บทน ำ


                      1.1 ควำมเป็นมำ


                             ภาวะภัยแล้งที่ก่อให้เกิดปัญหาขาดแคลนน ้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทย ได้เกิดขึ นเป็นประจ้าทุกปี
                      ในช่วงฤดูฝนระยะที่ฝนทิ งช่วง ระหว่างปลายเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม และช่วงฤดูหนาวต่อเนื่องจนถึงฤดู
                      ร้อน ระหว่างปลายเดือนตุลาคม - เมษายน ท้าให้ปริมาณน ้าไม่เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคและการผลิต
                      ทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะการเกษตรกรรม ในระยะ 8 ปีที่ผ่านมา (ปี 2547-2555) ภาวะภัยแล้งมีความถี่
                      และรุนแรงขึ นอย่างต่อเนื่อง สร้างความเสียหายรวมกันคิดเป็นมูลค่ากว่า 12,000 ล้านบาท

                             ภัยแล้งเกี่ยวข้องโดยตรงกับปริมาณน ้าฝนที่ตกในแต่ละปี  ประเทศไทยมีฝนตกเฉลี่ยทั งปีประมาณ
                      1,425  ม.ม. โดยร้อยละ 80 เป็นฝนที่เกิดจากลมประจ้าฤดู ได้แก่ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (พ.ค. - ต.ค.)
                      และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ต.ค. - ม.ค.) ที่เหลือเป็นฝนจากลมจร ได้แก่ พายุดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน

                      พายุใต้ฝุ่น และพายุไซโคลน (พ.ค. - พ.ย.) หากปีใดมีเฉพาะฝนที่เกิดจากลมประจ้าฤดูกาลโดยไม่มีฝนจาก
                      ลมจรมาเสริม ปีนั นจะเกิดภาวะฝนแล้ง ในช่วงที่เกิดภัยแล้งรุนแรงที่สุด (ประเมินไว้เป็นเดือนมีนาคม พ.ศ.
                      2548) มีหมู่บ้านที่ประสบปัญหาภัยแล้งมากถึง 44,519 หมู่บ้านใน 71 จังหวัด (คิดเป็นร้อยละ 60 ของ
                      จ้านวนหมู่บ้านทั งหมดทั่วประเทศ) โดยเป็นหมู่บ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือถึง 25,745 หมู่บ้าน หรือ

                      มากกว่าครึ่งหนึ่งของหมู่บ้านประสบภัยแล้งทั่วประเทศ
                             ความเสี่ยงต่อภัยแล้งและการขาดแคลนน ้าในอนาคตคาดว่าจะมีมากขึ น เนื่องจากความต้องการใน
                      น ้าเพิ่มขึ น จากการเพิ่มของประชากรและกิจกรรมการผลิตทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ขณะที่การก่อสร้างแหล่ง
                      กักเก็บน ้าเพิ่มเติม โดยเฉพาะขนาดใหญ่มีข้อจ้ากัดจากลักษณะภูมิประเทศและการต่อต้าน รวมทั งแหล่งน ้า

                      ที่มีอยู่แล้วทั งที่สร้างขึ น    และตามธรรมชาติ ยังมีความจุที่ลดลงจากการตื นเขินและขาดการบ้ารุงรักษา
                                  จากเหตุการณ์วิกฤตภัยแล้งดังกล่าวกรมทรัพยากรน ้าบาดาลได้ท้าการคัดเลือกพื นที่ที่มีศักยภาพ
                      น ้าบาดาลเพียงพอต่อการผลิตน ้าประปาเพื่อการอุปโภคบริโภค และเป็นพื นที่เสี่ยงต่อการเกิดภัยแล้งของ
                      กรมพัฒนาที่ดินเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน ้าดิบส้าหรับการผลิตน ้าประปาเพื่อการอุปโภคบริโภคของ

                      ประเทศไทย พบว่ามีพื นที่ ดังนี

                                    ระดับภัยแล้ง                             ศักยภาพน ้าบาดาล

                                                              (เพียงพอต่อการผลิตน ้าประปาเพื่อการอุปโภคบริโภค)
                                  เสี่ยงภัยแล้งมาก                             1,243   แห่ง
                                เสี่ยงภัยแล้งปานกลาง                           14,677  แห่ง
                                       รวม                                     15,920 แห่ง




                      ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี     1-1
                      กรมทรัพยากรน ้าบาดาล
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29