Page 29 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี61
P. 29
โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค
ประจ้าปีงบประมาณ 2561
บทที่ 2
วิธีด ำเนินกำร
2.1 กำรส ำรวจทำงธรณีฟิสิกส์
การส้ารวจในครั งนี ท้าการส้ารวจแบบหาข้อมูลในแนวดิ่งได้วางรูปแบบขั วไฟฟ้าแบบชลัมเบอร์เจ
โดยวางจุด Soundings จ้านวน 20 จุด โดยแต่ละจุดส้ารวจถึงระยะ AB/2 เท่ากับ 200 เมตร เพื่อให้ได้
ข้อมูลความลึกของชั นหินแข็ง การส้ารวจเริ่มจากการวางขั วปล่อยกระแสไฟฟ้า A, B และขั ววัดศักย์ไฟฟ้า
M, N ที่ระยะ AB/2 และ MN/2 เท่ากับ 1 และ 0.25 เมตรตามล้าดับ เพื่อวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าจุด
แรก จากนั นจึงขยายระยะระหว่างขั วไฟฟ้าทั งสองด้านจากจุดศูนย์กลางของจุด sounding ซึ่งเป็น
จุดอ้างอิง (reference หรือ sampling point) เพื่อวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าในจุดต่อ ๆ ไป โดยเป็นไป
ตามระยะทางของขั วปล่อยกระแสไฟฟ้า (AB/2) และขั ววัดศักย์ไฟฟ้า (MN/2)
หลักกำรส ำรวจวัดค่ำควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำ
การส้ารวจวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าอาศัยการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติด้านความต้านทานไฟฟ้า
จ้าเพาะที่เกิดขึ นในชั นดินชั นหิน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวท้าให้เกิดค่าผิดปกติที่สามารถตรวจสอบได้ เมื่อมี
ค่าผิดปกติทางด้านความต้านทานไฟฟ้าจ้าเพาะเกิดขึ นจากการส้ารวจย่อมสะท้อนให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านธรณีวิทยาใต้พื นที่ส้ารวจที่อาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงชนิดหินหรือธรณีโครงสร้าง
การส้ารวจวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าต้องมีขั วไฟฟ้า (electrodes) 2 ประเภทคือ (1) ขั วปล่อย
กระแสไฟฟ้า (current electrodes) ได้แก่ A และ B และ (2) ขั ววัดศักย์ไฟฟ้า (potential electrodes)
ได้แก่ M และ N เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าลงสู่พื นดินผ่าน A และ B ก็จะสามารถวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า
ระหว่างขั ว M และ N ซึ่งค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าดังกล่าวสามารถน้ามาค้านวณค่าความต้านทานไฟฟ้า
(resistance, R) และค่าความต้านทานไฟฟ้าจ้าเพาะ (resistivity, ) ได้ (รูปที่ 2.1) ปัจจุบันเครื่องมือส่วน
ใหญ่สามารถวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าได้โดยตรง ส้าหรับการค้านวณ ค่าความต้านทานไฟฟ้าจ้าเพาะนั น
สามารถท้าได้ไม่ว่าจะวางขั วไฟฟ้าในลักษณะใด รูปแบบการจัดวางขั วไฟฟ้าที่ใช้แพร่หลายในปัจจุบัน ได้แก่
การจัดวางรูปแบบเวนเนอร์ (wenner configuration) รูปแบบชลัมเบอร์เจอร์ (schlumberger
configuration) และรูปแบบไดโพล-ไดโพล (dipole-dipole configuration)
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรส ำรวจ
เครื่องมือที่ใช้ในการส้ารวจวัดค่าความต้านทานไฟฟ้า มีดังนี (รูปที่ 2.2) ประกอบด้วยเครื่องมือวัด
ค่าความต้านทานไฟฟ้า (resistivity meter) ม้วนสายไฟความยาว ม้วนละ 300 เมตร จ้านวน 2 ม้วน ฆ้อน
ตอกหลัก 4 อัน หลักเหล็ก (electrode) 4 หลัก เครื่องหาพิกัดต้าแหน่งบนพื นโลก (GPS) และวิทยุรับ-ส่ง
สนาม จ้านวน 3 เครื่อง
ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี 2.1
กรมทรัพยากรน ้าบาดาล