Page 31 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี61
P. 31
โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค
ประจ้าปีงบประมาณ 2561
2.2 กำรเจำะและพัฒนำบ่อน้ ำบำดำล
2.2.1 กำรจัดเตรียมสถำนที่และกำรติดตั้งเครื่องจักรเจำะบ่อน้ ำบำดำล
กำรตั้งเครื่องจักรบ่อ
-การติดตั งเครื่องจักรเจาะบ่อควรค้านึงถึงความสะดวกในการท้างานและความปลอดภัยของ
ผู้ปฏิบัติงาน และควรหันหน้ารถเจาะออกทางด้านถนน หรือทิศทางที่สามารถน้าเครื่องจักรออกจากจุดเจาะ
ได้ทันท่วงที ถ้าหากเกิดปัญหากับการเจาะบ่อ เช่น บ่อพังจนแก้ไขไม่ได้ หรือเกิดภัยธรรมชาติ
- ไม่ติดตั งเครื่องจักรเจาะบ่อใกล้สายไฟฟ้าแรงสูง
- ไม่ติดตั งเครื่องจักรเจาะบ่อใกล้สิ่งปลูกสร้างจนเกินไป เช่น หอถังสูง
- ไม่ติดตั งเครื่องจักรเจาะบ่อในพื นที่ลาดเอียงมากๆ
กำรเตรียมน้ ำโคลน
น ้าโคลนเป็นปัจจัยส้าคัญในการเจาะบ่อด้วยระบบ Direct Rotary Drilling โดยมีหน้าที่ดังนี
- เพื่อน้าพาเศษหิน ดิน จากก้นบ่อขึ นมายังปากบ่อ
- เพื่อแยกเอาตัวอย่างดิน หิน ทราย ออกจากของเหลว
- ป้องกันการพังของผนังบ่อขณะด้าเนินการเจาะ
- ลดความร้อนและแรงเสียดทานระหว่างการเจาะ และลดการสึกหรอของก้านและหัวเจาะ
- ป้องกันของเหลวหรือน ้าไหลผ่านชั นหินที่มีรูพรุน
- ลดการสูญเสียน ้าที่ใช้ในการเจาะเข้าสู่ชั นหินที่มีความพรุน
- ช่วยให้การเก็บตัวอย่างดิน หิน และการตีความหมายของสภาพทางธรณีวิทยาได้แม่นย้าขึ น
- วัสดุที่ใช้ท้าน ้าโคลนที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันคือ ดินเหนียว และ ผงโคลน (ดินเทียม)
การขุดบ่อน ้าโคลน ให้ขุดเป็นรูปสี่เหลี่ยมกว้าง 1.5 เมตร ยาว 1.5 - 2 เมตร จ้านวน 2 บ่อ ติดกัน มี
ขื่อกลางกว้างประมาณ 50 เซนติเมตร ก้นบ่อควรแคบกว่าปากบ่อเพื่อลดการพังทลายของผนังบ่อ ดังรูปที่ 2.3
ข้อดีของการขุดบ่อน ้าโคลน 2 บ่อ
1. ช่วยลดการสึกหรอของปั๊มน ้าโคลน
2. ช่วยแยกเศษดิน หิน ทราย ออกจากน ้าโคลน
3. ป้องกันการไหลวนของทรายในบ่อเจาะ
4. รักษาปริมาณน ้าโคลนให้คงที่อยู่เสมอ
การผสมน ้าโคลนให้ใช้น ้าจืดผสมกับผงโคลน โดยใช้เครื่องมือผสมผงโคลนที่ติดมากับเครื่องจักร
เจาะบ่อดังรูปที่ 2.4
ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี 2.3
กรมทรัพยากรน ้าบาดาล