Page 36 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี61
P. 36
โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค
ประจ้าปีงบประมาณ 2561
2.3.2 กำรติดตั้งเครื่องสูบน้ ำไฟฟ้ำ
บ่อน ้าบาดาลที่พัฒนาเสร็จเรียบร้อยแล้วถือว่าพร้อมที่จะติดตั งเครื่องสูบ ต้องด้าเนินการทดสอบ
ปริมาณน ้า (Pumping test) เพื่อให้ได้รายละเอียดเกี่ยวกับปริมาณน ้าที่จะสูบขึ นมาได้ และเพื่อหาข้อมูล
ส้าหรับการเลือกใช้เครื่องสูบให้ถูกต้อง การทดสอบแบบธรรมดาท้าได้โดยการหาเครื่องสูบมาสูบน ้าออกให้
ได้มากที่สุด พร้อมกับวัดระดับน ้าในบ่อก่อนที่จะสูบ ในขณะสูบ และหลังจากหยุดสูบ ตัวเลขที่ได้เอาไป
ค้านวณหาขนาดเครื่องสูบได้ เครื่องสูบน ้าบาดาลที่ใช้ในปัจจุบันกับระบบประปาบาดาลส่วนใหญ่ใช้เครื่อง
สูบน ้าชนิด Submersible pump ในที่นี จะกล่าวถึงเฉพาะเครื่องสูบน ้าชนิดนี เท่านั น การเลือกเครื่องสูบน ้า
ให้เหมาะสม จะต้องประกอบด้วย
- ข้อมูลเบื องต้นของบ่อน ้าบาดาล ความลึก ขนาดบ่อน ้าบาดาล และปริมาณน ้า
- ข้อมูลที่ได้จากการสูบทดสอบ ปริมาณน ้าขณะสูบ ระดับน ้าปกติ และระยะน ้าลด
- ความต้องการใช้น ้าของประชากรในพื นที่
- ระบบไฟฟ้าที่จะท้าการติดตั งเครื่องสูบน ้าแบบ Submersible pump ประกอบด้วย
1. มอเตอร์และปั๊ม
2. สายไฟฟ้า เทปพันสายไฟฟ้าชนิดกันน ้า
3. ฝาเปิดบ่อพร้อมอุปกรณ์ปากบ่อ
4. ตู้ควบคุมชนิด 2 ชั นกันน ้าพร้อมอุปกรณ์ควบคุม
5. ท่อทางดูดขนาดตามความเหมาะสมของเครื่องสูบ
หลังจากได้ข้อมูลจากการทดสอบปริมาณน ้าแล้ว ขั นตอนต่อไปจะเป็นการออกแบบเครื่องสูบน ้า
(Pump Design) ซึ่งสามารถดูได้จาก Performance Cure ของเครื่องสูบน ้า โดยดูจากอัตราการสูบ และ
Total Hade ของเครื่องสูบแต่ละขนาด โดยน้าข้อมูลการสูบทดสอบมาพิจารณาหาค่า Maximum yield
ของบ่อน ้าบาดาล โดยให้อัตราการสูบน ้าไม่เกิน 70 – 80 % ของ Maximum yield ของบ่อน ้าบาดาลนั น
การเลือกเครื่องสูบน ้าโดยวิธีการค้านวณ
x H 270
จากสูตร WHP = x
WHP = แรงม้าของเครื่องสูบน ้า (Water Horse Power), HP.
Q = ปริมาณน ้าที่ต้องการใช้ (ลบ.ม. / ชม. )
H = ระดับน ้าขณะสูบ + ความสูงหอถัง + hl (Loss)
= ประสิทธิภาพของปั้ม (ประมาณ 0.6)
ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี 2.8
กรมทรัพยากรน ้าบาดาล