Page 40 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี61
P. 40
โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค
ประจ้าปีงบประมาณ 2561
3.2 รหัสงบประมาณ 0900745008410D88 ส้านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดนครพนม
ต้าบลในเมือง อ้าเภอเมือง จังหวัดนครพนม
1. สภาพพื นที่ทั่วไป
พื นที่บริเวณส้านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดนครพนม ต้าบลในเมือง อ้าเภอ
เมือง จังหวัดนครพนม ตั งอยู่บริเวณพิกัด Zone 48Q UTME 0477040 UTMN 1924652 ระวางแผนที่
5842 II ตามแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วน 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร ภูมิประเทศโดยทั่วไปพื นที่
ราบลุ่ม มีลักษณะเป็นลอนคลื่น มีความสูงจากระดับน ้าทะเลปานกลางประมาณ 150 เมตร
2. ธรณีวิทยา
พื นที่บริเวณบ้านโคกกุง หมู่ที่ 3 ต้าบลโพธิ์ตาก อ้าเภอเมือง จังหวัดนครพนม รองรับด้วยตะกอน
น้ าพา (Qa) จะเป็นตะกอนทราย ทรายแป้งและดินเหนียวที่เกิดจากล้าน้ า แม่น ้า หรือล้าห้วยต่างๆ พัดพา
มาตะกอนที่กัดเซาะสึกกร่อนมาสะสมตัวบริเวณที่เป็นที่ราบ
3. อุทกธรณีวิทยา
พื นที่บริเวณส้านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดนครพนม ต้าบลในเมือง อ้าเภอ
เมือง จังหวัดนครพนม รองรับด้วยชั นหินให้น ้าตะกอนน ้าพา ประกอบด้วย กรวด ทราย การคัดขนาดดี
ความกลมมนดี แทรกสลับด้วยชั นหรือเลนส์บางๆ ของดินเหนียวปนทราย หรือดินลูกรัง ประกอบด้วย
กรวดและทรายท้องน ้า หรือคุ้งของล้าน ้า ปริมาณน ้าอยู่ในเกณฑ์น้อยกว่า 2 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง
ปริมาณสารทั งหมดที่ละลายได้ น้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร
4. การส้ารวจธรณีฟิสิกส์
คณะส้ารวจได้ด้าเนินการส้ารวจธรณีฟิสิกส์ด้วยการตรวจวัดความต้านทานไฟฟ้าจ้าเพาะ โดยวาง
ขั วไฟฟ้าแบบชลัมเบอร์เจอร์ ท้าการส้ารวจแบบ Soundings จ้านวน 6 จุดส้ารวจ โดยแต่ละจุดส้ารวจ
ส้ารวจถึงระยะ AB/2 เท่ากับ 100 – 150 เมตร เพื่อให้ได้ข้อมูลความลึกของชั นหินแข็ง
ข้อมูลที่ได้จากการวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าของแต่ละจุดส้ารวจ จะน้ามาท้าการค้านวณผลเป็นค่าความ
ต้านทานไฟฟ้าปรากฏ (Apparent resistivity) มีหน่วยเป็นโอห์ม-เมตร และในการส้ารวจที่จุดส้ารวจ
เดียวกัน เมื่อท้าการขยายขั วของการปล่อยกระแสไฟฟ้ากว้างออกไป จะได้ค่าความต้านทานไฟฟ้าปรากฏที่
แตกต่างกันของขั วปล่อยกระแสไฟฟ้า ซึ่งค่าความต้านทานไฟฟ้าปรากฏในแต่ละระยะของขั วปล่อย
กระแสไฟฟ้าจะน้ามา plot เป็นรูปกราฟ ซึ่งในการแปลความหมายจะน้ามาเปรียบเทียบเส้นกราฟ
(Matching curve) จากทฤษฎี โดยการจ้าลองค่าความหนาชั นต่างๆด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer
modeling) จะได้ค่าความลึก ความหนาของชั นดินชั นหิน บริเวณที่ท้าการส้ารวจ
ผลการส้ารวจธรณีฟิสิกส์ด้วยวิธีการตรวจวัดความต้านทานไฟฟ้าจ้าเพาะ และการศึกษาข้อมูลทาง
อุทกธรณีวิทยา สามารถแปลความหมายขั นต้นโดยใช้โปรแกรม IPI2WIN ในการประมวลผลได้ดังตารางที่ 3.2
ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี 3-3
กรมทรัพยากรน ้าบาดาล