Page 39 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี61
P. 39
โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค
ประจ้าปีงบประมาณ 2561
(Matching curve) จากทฤษฎี โดยการจ้าลองค่าความหนาชั นต่างๆด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer
modeling) จะได้ค่าความลึก ความหนาของชั นดินชั นหิน บริเวณที่ท้าการส้ารวจ
ผลการส้ารวจธรณีฟิสิกส์ด้วยวิธีการตรวจวัดความต้านทานไฟฟ้าจ้าเพาะ และการศึกษาข้อมูลทาง
อุทกธรณีวิทยา สามารถแปลความหมายขั นต้นโดยใช้โปรแกรม IPI2WIN ในการประมวลผลได้ดังตารางที่
3.1 และจากผลการแปลความหมายคณะส้ารวจได้ก้าหนดจุดที่เหมาะสมในการเจาะบ่อน ้าบาดาล คือจุด
ส้ารวจ ที่ KK1 ระดับความลึกประมาณ 40-45 เมตร ดังแสดงในรูปที่ 3.1
ตารางที่ 3.1 ผลการแปลความหมายบ้านโคกกุง
ความแข็งของชั น
จุด ความลึก ความหนา Resistivity
ส้ารวจ (เมตร) (เมตร) (Ohm-m) ดิน/หิน การให้น ้า
ที่เจาะผ่าน
KK1 0 0.78 83.3 น้อย ไม่
0.78 1.57 1,073 ปานกลาง ไม่
2.35 39.8 35.6 น้อย ให้
42.15 INFINITY 0.49 น้อย ไม่
รูปที่ 3.1 แผนผังการส้ารวจธรณีฟิสิกส์บ้านโคกกุง
ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี 3-2
กรมทรัพยากรน ้าบาดาล