Page 38 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี61
P. 38

โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค
                      ประจ้าปีงบประมาณ 2561


                                                              บทที่ 3


                                                      การส้ารวจน ้าบาดาล


                      3.1 รหัสงบประมาณ 0900745008410C73 บ้านโคกกุง หมู่ที่ 3 ต้าบลโพธิ์ตาก อ้าเภอเมือง
                      จังหวัดนครพนม


                             1. สภาพพื นที่ทั่วไป
                             พื นที่บริเวณบ้านโคกกุง หมู่ที่ 3 ต้าบลโพธิ์ตาก อ้าเภอเมือง จังหวัดนครพนม ตั งอยู่บริเวณพิกัด
                      Zone 48Q UTME 0465792 UTMN 1914839 ระวางแผนที่ 5943IV ตามแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วน

                      1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร ภูมิประเทศโดยทั่วไปพื นที่ราบลุ่ม มีลักษณะเป็นลอนคลื่น
                      มีความสูงจากระดับน ้าทะเลปานกลางประมาณ 150 เมตร
                             2. ธรณีวิทยา

                             พื นที่บริเวณบ้านโคกกุง หมู่ที่ 3 ต้าบลโพธิ์ตาก อ้าเภอเมือง จังหวัดนครพนม รองรับด้วยหมวดหิน
                      มหาสารคาม ประกอบด้วยชั นหินที่มีความคงทนต่้าของหินโคลน หินดินดานและหินทรายแป้ง
                      สีแดง สีน ้าตาลแดงและสีเทา มีชั นเกลือแทรกสลับอยู่ 3 ชั น คือเกลือชั นล่าง เกลือชั นกลาง และเกลือชั นบน

                      ในช่วงความลึกที่แตกต่างกันไปในแต่ละบริเวณ โดยแต่ละชั นมีชั นหินเคลย์สีแดงแทรก แต่ในบางบริเวณ
                      อาจจะพบเกลือเพียง 2 หรือ 1 ชั น

                             3. อุทกธรณีวิทยา
                             พื นที่บริเวณบ้านโคกกุง หมู่ที่ 3 ต้าบลโพธิ์ตาก อ้าเภอเมือง จังหวัดนครพนม รองรับด้วยชั นหินให้
                      น ้าค้าตากล้า ประกอบด้วยหินทรายเนื อละเอียดและหินทรายแป้ง สีแดงอิฐ เม็ดทรายมีลักษณะเหลี่ยม

                      ส่วนใหญ่ประกอบด้วยเม็ดควอตซ์ การวางของชั นเฉียงระดับ น ้าบาดาลถูกกักเก็บอยู่ภายในรอยแตก รอย
                      แยก รอยต่อระหว่างชั นหิน ปริมาณน ้าอยู่ในเกณฑ์น้อยกว่า 2 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ปริมาณสารทั งหมด

                      ที่ละลายได้ น้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร
                             4. การส้ารวจธรณีฟิสิกส์

                             คณะส้ารวจได้ด้าเนินการส้ารวจธรณีฟิสิกส์ด้วยการตรวจวัดความต้านทานไฟฟ้าจ้าเพาะ โดยวาง
                      ขั วไฟฟ้าแบบชลัมเบอร์เจอร์ ท้าการส้ารวจแบบ Soundings จ้านวน 6 จุดส้ารวจ โดยแต่ละจุดส้ารวจ

                      ส้ารวจถึงระยะ AB/2 เท่ากับ 100 – 150 เมตร เพื่อให้ได้ข้อมูลความลึกของชั นหินแข็ง
                             ข้อมูลที่ได้จากการวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าของแต่ละจุดส้ารวจ จะน้ามาท้าการค้านวณผลเป็น
                      ค่าความต้านทานไฟฟ้าปรากฏ (Apparent resistivity) มีหน่วยเป็นโอห์ม-เมตร และในการส้ารวจที่จุด

                      ส้ารวจเดียวกัน เมื่อท้าการขยายขั วของการปล่อยกระแสไฟฟ้ากว้างออกไป จะได้ค่าความต้านทานไฟฟ้า
                      ปรากฏที่แตกต่างกันของขั วปล่อยกระแสไฟฟ้า ซึ่งค่าความต้านทานไฟฟ้าปรากฏในแต่ละระยะของขั ว

                      ปล่อยกระแสไฟฟ้าจะน้ามา plot เป็นรูปกราฟ ซึ่งในการแปลความหมายจะน้ามาเปรียบเทียบเส้นกราฟ

                      ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี     3-1
                      กรมทรัพยากรน ้าบาดาล
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43