Page 33 - รายงานโครงการน้ำอุปโภค-บริโภค ปี61
P. 33
โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ้าอุปโภค - บริโภค
ประจ้าปีงบประมาณ 2561
ไม่น้อยกว่า 6 ม. หรือแล้วแต่ดุลยพินิจของช่างเจาะขณะท้าการเจาะบ่อนั นๆ และจนกว่าจะถึงชั นหินแข็ง
ส้าหรับการเจาะแบบ Air Rotary แล้วติดตั งท่อกันพัง (รูปที่ 2.5)
เจำะบ่อน ำ (Pilot hole)
การเจาะบ่อน้าให้เจาะด้วยหัวเจาะขนาด 6 ½ ตลอดความลึกที่ต้องการ และเก็บตัวอย่างดิน หิน
ทราย ทุกระยะ 1 เมตร ที่เจาะผ่าน การเจาะด้วยระบบ Direct Rotary Drilling จ้าเป็นต้องใช้น ้าโคลน
ดังนั นจะต้องขุดบ่อน ้าโคลนและผสมผงโคลนให้ได้ความหนืดของน ้าโคลนที่ต้องการก่อนท้าการเจาะ
ขณะท้าการเจาะบ่อนั นช่างเจาะควรท้าการเก็บตัวอย่างจากหลุมเจาะอย่างแม่นย้า และจดบันทึก
ล้าดับชั นดินและหินทุกช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์และความเชี่ยวชาญของช่างเจาะ
เพื่อที่จะน้าข้อมูลมาออกแบบการติดตั งท่อกรุ ท่อกรอง เลือกขนาดกรวดกรุและเลือกกรุกรวดด้วยวิธีใด
ดังนั นความรู้ทางด้านธรณีวิทยามีความจ้าเป็นส้าหรับช่างเจาะที่ต้องให้ความสนใจ เพื่อจะได้บรรยาย
ลักษณะหินได้ดี ท้าให้สะดวกในการออกแบบสร้างบ่อ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของบ่อบาดาลได้เป็นอย่างดี
2.2.3 กำรเก็บตัวอย่ำงดิน ตัวอย่ำงหิน
ขั นตอนการเก็บตัวอย่างตะกอนมีดังนี
1. เตรียมถุงผ้าหรือถุงพลาสติกหรือกล่องใส่ตัวอย่างขนาดพอเหมาะที่สามารถบรรจุตัวอย่าง
ประมาณ 200 กรัม ให้พร้อมก่อนเริ่มเก็บ โดยเขียนหมายเลขบ่อ ระดับความลึก และวัน เดือน ปี ที่เก็บ
2. ใช้ภาชนะตะแกรงถี่ ตักตัวอย่างประมาณ 500 กรัม ทุกๆ ความลึก 1.0 เมตร หรือที่ชั นหิน
เปลี่ยน กรณีเจาะแบบหมุนตรงหรือหมุนดูดกลับโดยใช้น ้าโคลน และเจาะแบบหมุนตรงใช้แรงลมอัด ต้อง
ปล่อยให้น ้าโคลนไหลออกจากตัวอย่างหมดก่อน หรือล้างน ้าโคลนออกพอสมควร
3. น้าตัวอย่างที่เก็บมาผึ่งแดดให้แห้ง โดยเรียงตามช่วงความลึกที่เก็บในถาดเรียงตัวอย่างเก็บ
ตัวอย่างใส่ถุงพลาสติกหรือกล่องที่เตรียมไว้ แล้วรวบรวมเพื่อให้นักธรณีวิทยาท้าการวิเคราะห์ (รูปที่ 2.6)
รูปที่ 2.5 กิจกรรมกำรเจำะบ่อน้ ำบำดำล
ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี 2.5
กรมทรัพยากรน ้าบาดาล