Page 9 - เศรษฐกิจพอเพียง
P. 9

3




               และการดําเนินการทุกขั้นตอนและขณะเดียวกัน  จะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ  โดยเฉพาะ
               เจาหนาที่ของรัฐ  นักทฤษฎี  และนักธุรกิจในทุกระดับใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริตและ

               ใหมีความรอบรูที่เหมาะสม  ดําเนินชีวิตดวยความอดทน  มีความเพียรพยายาม มีสติปญญา และความ
               รอบคอบ    เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว  และกวางขวาง

               ทั้งทางดานวัตถุ  สังคม  สิ่งแวดลอม  และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี

                       ความพอเพียง  หมายถึง  ความพอประมาณ  ความมีเหตุผล  รวมถึงความจําเปนที่ตองมี

               ระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก

               และภายใน  ทั้งนี้จะตองอาศัยความรอบรู    ความรอบคอบและความระมัดระวังอยางยิ่งในการนํา

               วิชาการตาง ๆ มาใชในการวางแผน  และการดําเนินการทุกขั้นตอน  และขณะเดียวกันจะตอง

               เสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ    โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ    นักทฤษฎี  และนักธุรกิจ

               ในทุกระดับ  ใหมีสํานึกในคุณธรรม  ความซื่อสัตยสุจริต  และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิต


               ดวยความอดทน  ความเพียร  มีสติปญญา  และความรอบคอบ  เพื่อใหสมดุลและพรอมตอ

               การรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง  ทั้งทางดานวัตถุ  สังคม  สิ่งแวดลอม และ

               วัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี



               เรื่องที่ 3  หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง

                       เปนปรัชญาชี้แนะแนวทางการดํารงอยู ูและปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเปน  โดยมีพื้นฐานมาจาก


               วิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย  สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา  และเปนการมองโลกเชิงในระบบที่มี
               การเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัย และวิกฤติ  เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืน


               ของการพัฒนา
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14