Page 14 - รายงาน PLC กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 62
P. 14

ในการประชุม ครั้งท 10 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563
                                           ี่
                   เพอสะท้อนผลการสอนของสัปดาห์ที่ 10 วันที่ 11 กุมภาพนธ์ 2563 เวลา 10.20-11.10  .
                     ื่
                                                                                                        น
                                                                            ั
                   ระยะเวลา 1 คาบ
                          1. สะท้อนผลการปฏิบัติของตนเอง
                                         ั
                          นักเรียนตั้งใจในฟงค าชี้แจงและปฏิบัติตามค าแนะน าในการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพราะ
                                                         ั
                   อยากทราบถึงผลการฝึกว่าจะท าให้ตัวเองมีพฒนาการด้านความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาเพมขึ้นหรือไม่
                                                                                                ิ่
                   ครูผู้สอนและตัวแทนนักเรียนร่วมด าเนินการทดสอบสมรรถภาพทางกายและบันทึกผล
                          2. สะท้อนความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุ่ม

                          การให้นักเรียนทดสอบสมรรถภาพทางกายครูควรเน้นย้ าถึงวิธีการปฏิบัติและให้นักเรียนตั้งใจ
                   ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อผลข้อมูลที่ถูก



                   ขั้นตอนที่ 6 สรุปผล และรายงาน
                   ในการประชุม ครั้งที่ 11 เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563
                               สรุปผลกิจกรรม PLC เกี่ยวกับ ผลที่เกิดจากกระบวนการ ปัญหาอุปสรรค สิ่งที่ได้เรียนรู้จาก
                   กิจกรรม และการพัฒนาปรับปรุงในครั้งต่อไป

                          1. สรุปผลการด าเนินการ
                                 จากการศึกษาผลของการใช้แบบฝึกการกระโดดเชือก ที่มีต่อความแข็งแรงของ
                   กล้ามเนื้อขาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 โรงเรียนวีรศิลป์ อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ก่อน

                   และหลังการใช้แบบฝึกการกระโดดเชือก จ านวน 22 คนเป็นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่า ความแข็งแรงของ

                                          ิ่
                   กล้ามเนื้อขาของนักเรียนเพมขึ้น โดยหลังการฝึกมีค่าเฉลี่ยดีกว่าก่อนการฝึก ซึ่งชี้ให้เห็นว่าแบบฝึกการ
                   กระโดดเชือกสามารถพฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาได้เป็นอย่างดี เพราะมีกระบวนการที่จัดขึ้น
                                       ั
                                   ื่
                   อย่างเป็นระบบ เพอมุ่งหวังให้มีสมรรถภาพที่เหมาะสมโดยใช้ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม สามารถท าให้
                   สมรรถภาพสูงขึ้นได้ นอกจากนี้การเลือกรูปแบบกิจกรรมของการฝึกที่มีความเหมาะสมกับเพศและวัย
                   ยังเป็นแนวทางในการสร้างแรงจูงใจอย่างหนึ่งในการฝึก ท าให้นักเรียนเกิดความรู้สึกที่ท้าทาย และมีความ
                   พยายามในการฝึกซ้อมเพมขึ้นและยังก่อให้เกิดความสนุกสนาน จึงนับได้ว่าแบบฝึกการกระโดดเชือกเป็น
                                        ิ่
                   แบบฝึกที่มีความเหมาะสมกับผู้เรียนเพราะเป็นกระบวนการในการออกก าลังกายที่ง่ายไม่ต้องใช้อปกรณ์ที่
                                                                                                   ุ
                   มีราคาแพง รูปแบบการฝึกมีขั้นตอนไม่ยุ่งยาก ดังนั้นการใช้โปรแกรมการฝึกกระโดดเชือกจึงมีประโยชน์

                                                  ั
                          ั
                   ต่อการพฒนาร่างกายทั้งยังสามารถพฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาได้อย่างแท้จริง และการระดม
                   ความคิดร่วมกันเป็นแนวทางที่ดีในการช่วยกันแก้ปัญหา ครูแต่ละท่านได้น าเสนอเทคนิคและรูปแบบใน
                                                                        ื่
                   การแก้ปัญหาต่างๆร่วมกันได้เป็นอย่างดี ครูควรมีการจับคู่กันเพอช่วยเหลือในการแก้ปัญหาต่างๆในการ
                   เรียนได้เพิ่มขึ้น
                          2. ข้อเสนอแนะ
                              2.1  ควรมีการฝึกอย่างต่อเนื่องและแบบฝึกการกระโดดเชือกไปใช้กับนักเรียนที่มีสมรรถภาพ
                                          ั
                   ทางกายต่ ากว่าเกณฑ์ เพื่อพฒนาสมรรถภาพของนักเรียนให้สูงขึ้น
                             2.2  มีการปรับเปลี่ยนโปรแกรมการฝึกเพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับนักเรียนเป็นรายบุคคล
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19