Page 279 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 279
278
3.5 ไฟฟ้ าในชีวิตประจ าวัน
ไฟฟ้ าเป็นสิ่งที่จ าเป็นและมีอิทธิพลมาก
ในชีวิตประจ าวันของเราตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย
เราสามารถน าไฟฟ้ ามาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
เช่น ด้านแสงสว่าง ด้านความร้อน ด้านพลังงาน
ด้านเสียง เป็นต้น และการใช้ประโยชน์จากไฟฟ้ าก็
ต้องใช้อย่างระมัดระวัง ต้องเรียนรู้การใช้ที่ถูกวิธี
ต้องรู้วิธีการป้ องกันที่ถูกต้อง ในที่นี้จะขอกล่าวถึงประเภทของไฟฟ้ า และอุปกรณ์ไฟฟ้ าใน
ชีวิตประจ าวันที่ควรจะรู้จัก
ไฟฟ้ าในชีวิตประจ าวันที่ควรรู้จัก
1.เมนสวิตช์ (Main Switch) หรือสวิตช์ประธาน เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ส าหรับ ตัดต่อวงจรของ
สายเมน เข้าอาคาร กับสายภายใน ทั้งหมด เป็นอุปกรณ์สับปลด วงจรไฟฟ้ าตัวแรก ถัดจากเครื่องวัด
หน่วยไฟฟ้ า (มิเตอร์) ของการน าไฟฟ้ า เข้ามาในบ้าน เมนสวิชต์ประกอบด้วย เครื่องปลดวงจร
(Disconnecting Means) และเครื่องป้ องกันกระแสเกิน (Overcurrent Protective Device) หน้าที่ของเมน
สวิตช์ คือ คอยควบคุมการใช้ไฟฟ้ า ให้เกิดความปลอดภัย ในกรณีที่ เกิดกระแสไฟฟ้ าเกิน หรือ เกิด
ไฟฟ้าลัดวงจร เราสามารถสับหรือปลดออกได้ทันที เพื่อตัดไม่ให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้ามายังอาคาร
2.เบรกเกอร์ (เซอร์กิตเบรกเกอร์) หรือ สวิชต์อัตโนมัติ หมายถึง อุปกรณ์ที่สามารถใช้สับ หรือ
ปลดวงจรไฟฟ้ าได้โดยอัตโนมัติ โดยกระแสลัดวงจรนั้น ต้องไม่เกินขนาดพิกัด ในการตัดกระแส
ลัดวงจรของเครื่อง (IC)
3. ฟิวส์ เป็นอุปกรณ์ป้ องกัน กระแสไฟฟ้ าเกินชนิดหนึ่ง โดยจะตัดวงจรไฟฟ้ าอัตโนมัติ เมื่อมี
กระแสไฟฟ้ าไหลเกินค่าที่ก าหนด และเมื่อฟิวส์ท างานแล้ว จะต้องเปลี่ยนฟิวส์ใหม่ ขนาดพิกัดการตัด
กระแสลัดวงจร (IC) ของฟิวส์ต้องไม่ต ่ากว่าขนาดกระแสลัดวงจรที่ผ่านฟิวส์
4. เครื่องตัดไฟรั่ว หมายถึง สวิชต์อัตโนมัติที่สามารถปลดวงจรได้อย่างรวดเร็ว ภายในระยะเวลาที่
ก าหนด เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ารั่วไหลลงดินในปริมาณที่มากกว่าค่าที่ก าหนดไว้ เครื่องตัดไฟรั่วมักจะใช้
เป็นอุปกรณ์ป้ องกันเสริมกับระบบสายดิน เพื่อป้ องกันอันตรายจากไฟฟ้ าดูด กรณีเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ใช้มี
ไฟรั่วเกิดขึ้น
5. สายดิน คือสายไฟเส้นที่มีไว้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อการใช้ไฟฟ้ า ปลายด้านหนึ่งของ
สายดิน จะต้องมีการต่อลงดิน ส่วนปลายอีกด้านหนึ่ง จะต่อเข้ากับวัตถุหรือเครื่องใช้ไฟฟ้ า ที่ต้องการให้
มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์เท่ากับพื้นดิน