Page 126 - ภาษาไทย ม.ต้น
P. 126

126 | ห น า



                         คําประสมชนิดนี้  เชน   ชาๆ   ซ้ําๆ   ดีๆ  นอยๆ  ไปๆ   มาๆ  เปนตน
                         4.  คําประสมที่เกิดจากคํามูลที่มีรูปและเสียงตางกัน  แตมีความหมายเหมือนกัน  เมื่อนํามา

                  ประสมกันแลวความหมายไมเปลี่ยนไปจากเดิม  เชน

                           ยิ้ม       หมายถึง        แสดงใหปรากฏวาชอบใจ
                           แยม       หมายถึง        คลี่ เผยอปากแสดงความพอใจ

                           ยิ้ม แยม  ไดคําใหม     คือ  ยิ้มแยม  หมายถึง  ยิ้มอยางชื่นบาน คําประสมชนิดนี้มี

                  มากมาย เชน  โกรธเคือง  รวดเร็ว  แจมใส  เสื่อสาด บานเรือน  วัดวาอาราม  ถนนหนทาง  เปนตน

                         5.  คําประสมที่เกิดจากคํามูลที่มีรูป เสียง  และความหมายตางกัน  เมื่อนํามาประสมจะตัด
                  พยางค  หรือยนพยางคใหสั้นเขา   เชน  คําวา  ชันษา  มาจากคําวา  ชนมพรรษา

                           ชนม                 หมายถึง       การเกิด

                           พรรษา               หมายถึง       ป
                           ชนม  พรรษา          ไดคําใหม    คือ  ชนมพรรษา  หมายถึง  อายุ

                  คําประสมประเภทนี้  ไดแก

                           เดียงสา             มาจาก         เดียง  ภาษา

                           สถาผล               มาจาก         สถาพร  ผล
                           เปรมปรีดิ์          มาจาก         เปรม    ปรีดา


                  คําสมาส


                         คําสมาสเปนวิธีสรางคําใหมในภาษาบาลีและสันสกฤต   โดยนําคําตั้งแต  2  คําขึ้นไปมา

                  ประกอบกันคลายคําประสม  แตคําที่นํามาประกอบแบบคําสมาสนั้นนํามาประกอบหนาศัพท  การ
                  แปลคําสมาสจึงแปลจากขางหลังมาขางหนา  เชน

                         บรม  ยิ่งใหญ  ครู                  บรมครู  ครูผูยิ่งใหญ

                         สุนทร  ไพเราะ  พจน  คําพูด         สุนทรพจน  คําพูดที่ไพเราะ
                         การนําคํามาสมาสกัน  อาจเปนบาลีสมาสกับบาลี  สันสกฤตสมาสกับสันสกฤต  หรือบาลี

                  สมาสสันสกฤตก็ได

                         ในบางครั้งคําประสมที่เกิดจากคําไทยประสมกันกับคําบาลีหรือสันสกฤตบางคํา
                  มีลักษณะคลายคําสมาสเพราะแปลจากขางหลังมาขางหนา  เชน  ราชวัง  แปลวา  วังของพระราชา

                  อาจจัดวาเปนคําสมาสไดสวนคําประสมที่มีความหมายจากขางหนาไปขางหลัง  และมิไดใหความผิด

                  แผกแมคํานั้นประสมกับคําบาลีหรือสันสกฤตก็ถือวาเปนคําประสม เชน มูลคา  ทรัพยสิน  เปนตน

                  การเรียงคําตามแบบสรางของคําสมาส


                         1.  ถาเปนคําที่มาจากบาลีและสันสกฤต  ใหเรียงบทขยายไวขางหนา  เชน
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131