Page 209 - พระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญา
P. 209
๒๐๐
พระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผูกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ.๒๕๓๔
ความพิเศษของพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผูกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดฉบับนี้
คือ
มาตรา ๖ และมาตรา ๘ ซึ่งบัญญัติวา
“ÁÒμÃÒ ö ในความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดผูใดกระทําการอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้
ตองระวางโทษเชนเดียวกับตัวการในความผิดนั้น
(๑) สนับสนุนหรือชวยเหลือผูกระทําความผิดกอนหรือขณะกระทําความผิด
(๒) จัดหาหรือใหเงินหรือทรัพยสิน ยานพาหนะ สถานที่หรือวัตถุใดๆ เพื่อประโยชน
หรือใหความสะดวกกการกระทําความผิดหรือเพื่อมิใหผูกระทําความผิดถูกลงโทษ
(๓) จัดหาหรือใหเงินหรือทรัพยสิน ที่ประชุม ที่พํานักหรือที่ซอนเรน หรือชวยเหลือ
หรือใหความสะดวกแกผูกระทําความผิดหรือเพื่อชวยใหผูกระทําความผิดพนจากการถูกจับกุม
(๔) รับเงิน ทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดจากผูกระทําความผิดเพื่อประโยชนหรือ
ใหความสะดวกแกการกระทําความผิดหรือเพื่อมิใหผูกระทําความผิดถูกลงโทษ
(๕) ปกปด ซอนเรน หรือเอาไปเสียซึ่งยาเสพติดหรือวัตถุใดๆ ที่ใชในการกระทํา
ความผิดเพื่อชวยเหลือผูกระทําความผิด
(๖) ชี้แนะหรือติดตอบุคคลอื่นเพื่อประโยชนในการกระทําความผิด
ผูใดจัดหาหรือใหเงินหรือทรัพยสินที่พํานักหรือที่ซอนเรนเพื่อชวยบิดามารดา บุตร สามี
หรือภริยาของตนใหพนจากการถูกจับกุม ศาลจะไมลงโทษผูนั้นหรือลงโทษผูนั้นนอยกวาที่กฎหมาย
กําหนดไวสําหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได ประมวลกฎหมายอาญา
ÁÒμÃÒ ÷ ผูใดพยายามกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดตองระวางโทษตามที่
กําหนดไว สําหรับความผิดนั้นเชนเดียวกับผูกระทําความผิดสําเร็จ
ÁÒμÃÒ ø ผูใดสมคบโดยการตกลงกันตั้งแตสองคนขึ้นไป เพื่อกระทําความผิดเกี่ยวกับ
ยาเสพติด ผูนั้นสมคบกันกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป
หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
ถาไดมีการกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดเพราะเหตุที่ไดมีการสมคบกันตามวรรคหนึ่ง
ผูสมคบกันนั้นตองระวางโทษตามที่กําหนดไวสําหรับความผิดนั้น”
เปนการยกเลิกฐานะของผูกระทําผิดที่จะตองไดรับโทษลดหลั่นกันไป เชน ตัวการ
ผูสนับสนุน หรือการพยายามกระทําความผิด ใหไดรับโทษฐานเดียวกันหมด คือ ในฐานะผูกระทํา
ความผิดสําเร็จ
แตในพระราชบัญญัตินี้ ไดกําหนดขอบอํานาจเอาไววาความผิดตามกฎหมายยาเสพติดใด
ที่จะใชมาตรการตามพระราชบัญญัตินี้บังคับ มิใชใชบังคับในทุกกรณี ซึ่งฐานความผิดที่จะใช
บังคับตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ ตองพิจารณาจากมาตรา ๓ ดังนี้