Page 147 - การทะเบียนประวัติอาชญากร
P. 147

๑๔๐



              ÅÒ¾ÔÁ¾¹ÔéÇÁ×ÍÁ¹ØÉ

                          ผิวหนังของนิ้วมือมนุษยเราจะเห็นเปนรูปลักษณะตางๆ กัน ลวดลายตางๆ ที่เกิดขึ้น

              ก็เพราะวาผิวหนังของนิ้วมือมนุษยมีเสนอยู ๒ ชนิดปนกันอยู คือ “เสนนูน” และ “เสนรอง”
                          เสนนูน คือ การเกิดของรอยนูนซึ่งสูงขึ้นมาพนจากผิวหนังสวนนอกของนิ้วมือ นิ้วเทา

              ฝามือและฝาเทา
                          เสนรอง คือ รอยลึกซึ่งอยูตํ่าลงไปกวาระดับของเสนนูน

                          เมื่อเรากดนิ้วมือลงบนแทนหมึกดํา และนําไปกดลงบนกระดาษขาวจะปรากฏวาเปน
              ลวดลายตางๆ โดยมีเสนสีดําและขาวสลับกันไป เสนสีดําก็คือเสนนูน และเสนสีขาวก็คือ เสนรอง

              ในการตรวจพิสูจนเปรียบเทียบลายพิมพนิ้วมือจะใชเสนสีดําหรือเสนนูนเนื่องจากเสนนูนมีคุณสมบัติ
              ดังตอไปนี้  คือ

                          ๑. เสนนูน (Ridge) จะเริ่มมีขึ้นในอวัยวะตั้งแตบุคคลนั้นมีแขน-ขา ในทองมารดา
              และจะคงรูปเรื่อยมาจนกวาจะตาย
                          ๒. ถาเสนนูนถูกทําลาย ลอกออกดวยตนเอง จะงอกขึ้นใหมเดิม

                          ๓. การจัดตัวของเสนนูน แมจะมีลวดลายคลายกัน แตจะไมเหมือนกันเลย

                          ฉะนั้น ในการตรวจสอบเปรียบเทียบลายพิมพนิ้วมือจึงใชเสนสีดําหรือเสนนูนเปนหลัก


              ÃÙ»ÅѡɳÐμ‹Ò§æ ¢Í§ÅÒÂàÊŒ¹

                          (๑)  เสนตรงธรรมดา

                          (๒)   เสนโคง
                          (๓)   เสนวกกลับ

                          (๔)   เสนเวียน
                          (๕)   เสนแตก

                          (๖)   เสนสั้นๆ หรือเสนขาด
                          (๗)  เสนเกาะหรือเสนทะเลสาบ

                          (๘)  เสนหักมุม

                          (๙)  จุด             ●
                          ทั้งนี้จะมีไมครบทั้ง ๙ ชนิดก็ได แลวแตรูปลักษณะของลายนิ้วมือที่ปรากฏ
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152