Page 154 - การทะเบียนประวัติอาชญากร
P. 154

๑๔๗




                                  ๔.๒  ประวัติที่ไดมาจะเปนแนวทางใหสามารถพิจารณาไดวาควรใหประกัน
                 หรือปลอยชั่วคราวแกผูถูกหาวากระทําผิดนั้นหรือไมเพียงใด ถาจําเปนจะตองใหประกันหรือปลอย

                 ชั่วคราวก็จะมีหลักพิจารณาไดวา ควรตีราคาหลักประกันมากนอยเพียงใด เพื่อปองกันมิใหหลบหนี
                 เมื่อไดรับการใหประกันหรือปลอยชั่วคราวไปแลว

                                  ๔.๓  เมื่อครบกําหนดการใหประกันหรือปลอยชั่วคราว หรือเมื่อตัวกลับมาตาม
                 ที่เรียก หากเกิดสงสัยวาผูที่กลับมานั้นจะไมใชตัวผูที่ถูกกลาวหาที่แทจริง ก็สามารถตรวจพิสูจนได

                 โดยพิมพลายนิ้วมือของผูนั้นขึ้นใหม แลวเปรียบเทียบกับลายนิ้วมือที่พิมพไวเดิมก็จะทราบวาใชตัว
                 ผูถูกกลาวหาวากระทําผิดที่ใหประกันหรือปลอยชั่วคราวไปจริงหรือไม ดังนี้เปนตน นอกจากนั้นยังเปน

                 ประโยชนอยางอื่นๆ แกพนักงานฝายปกครองและตํารวจอีกมากมาย



                 ËÅÑ¡สํา¤Ñޢͧ¡ÒÃμÃǨ¾ÔÊÙ¨¹ÅÒ¾ÔÁ¾¹ÔéÇÁ×Í
                             อาศัยลักษณะลายเสนของลายนิ้วมือที่ปรากฏอยูบนหนานิ้วระหวางขอนิ้วขอที่ ๑ กับ

                 ปลายนิ้ววาเปนลักษณะลายนิ้วมือประเภทโคง มัดหวาย หรือกนหอย และลายนิ้วมือที่จะใชในการ

                 ตรวจพิสูจนไดนั้น จะตองใหลายพิมพนิ้วมือ (เสนดํา) ปรากฏชัดเจนทุกสวนของนิ้ว ไมพราหรือ
                 เลอะเลือนใหผูชํานาญในการตรวจลายพิมพนิ้วมือสามารถอานรูปลักษณะไดอยางถูกตองและสามารถ
                 “นับ” จํานวนเสนในลายพิมพนิ้วมือระหวาง “จุดสันดอน” กับ “จุดใจกลาง” ของลายนิ้วมือประเภท

                 มัดหวายไดถูกตอง ถาเปนลายพิมพนิ้วมือประเภทกนหอยก็ใหสามารถ “สาว” ลายเสนจากจุดสันดอนซาย
                 ไปสูสันดอนขวาไดโดยแมนยํา ในการตรวจสอบเปรียบเทียบนั้นก็ดวยการตรวจสอบกับบัตรสารบบ

                 ที่อยูในกลุมรหัสเดียวกัน รหัสดังกลาวเปนการรวมเอาลายนิ้วมือที่เปนประเภทและชนิดเดียวกันที่อยู
                 ในตําแหนงหรือชองลําดับนิ้วตรงกันในแบบพิมพลายนิ้วมือ ๑๐ นิ้ว มิใชนําไปตรวจสอบเปรียบเทียบ

                 กับบัตรสารบบทั้ง ๕ ลานฉบับ หลักในการตรวจสอบนั้นจะตองเลือกดูวา  นิ้วใดบางมีลักษณะเดนชัด
                 หรือแปลกเปนที่สะดุดตาสังเกตและสามารถจดจําไดงายที่สุดเสียกอน ปกติแลวจะหาลักษณะพิเศษของ

                 ลายนิ้วมือในมือขวากอน เนื่องจากอยูตอนบนของแบบพิมพ หากไมมีลักษณะพิเศษจึงจะไปดูในมือซาย
                 ตอไป การตรวจสอบพิสูจนเปรียบเทียบเพื่อยืนยันวาเปนลายพิมพนิ้วมือของบุคคลเดียวกันหรือไมนั้น

                 ตองอาศัยลักษณะของลายเสนในลายนิ้วมือหลายๆ จุดเปนการเปรียบเทียบตามหลักเกณฑของ
                 การตรวจพิสูจนเปรียบเทียบเปนหลักมิไดนําเอาตําหนิหรือแผลเปนมาเปนที่สังเกตหรือจดจําเปน

                 ลักษณะพิเศษแตอยางใด เพราะตําหนิหรือแผลเปนนั้นอาจเกิดขึ้นในภายหลังได ซึ่งโดยการเปรียบเทียบ
                 ทั่วๆ ไปนั้น แมบุคคลที่มิเคยไดศึกษาเกี่ยวกับวิชาลายพิมพนิ้วมือมากอน ถาไดตรวจดูโดยละเอียด

                 ถี่ถวนไมใจรอน มีสมาธิดีแลว เมื่อพบเห็นเขาจะเกิดความรูสึกจากจิตสํานึกวา ลักษณะของลายเสน
                 ในลายนิ้วมือนั้นมีชื่อเรียกอยางเดียวกัน ประเภทและชนิดเดียวกัน คลายคลึงกัน เหมือนกัน

                 หรือไมเหมือนกัน
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159