Page 79 - การทะเบียนประวัติอาชญากร
P. 79

๗๒




              ภายใน ๒๔ ชั่วโมงนับแตวันที่พบตัว แลวสั่งพิมพรายงานตาม แบบ คพศ.๑ หรือ แบบ คพศ.๕
              จากระบบ ตรวจสอบความถูกตองครบถวนแลวลงชื่อพนักงานสอบสวนในแบบรายงานจัดเก็บไวเปน

              หลักฐานโดยไมตองจัดสงเอกสารไปยัง กองทะเบียนประวัติอาชญากร ศูนยพิสูจนหลักฐาน ๑ - ๑๐
              และ พิสูจนหลักฐานจังหวัด อีกแตอยางใดโดยใหถือวา ขอมูลที่บันทึกในระบบฐานขอมูลกลางในการ

              จัดเก็บและสืบคนขอมูลบุคคลสูญหายและพิสูจนศพนิรนามของ ค.พ.ศ. เปนการออกประกาศและ
              ถอนประกาศตามระเบียบของสํานักงานตํารวจแหงชาติ

                                            การกรอกตําหนิรูปพรรณคนหาย ใหกรอกขอความใหละเอียด
              เพียงพอที่เจาหนาที่ตํารวจ หรือบุคคลที่พบเห็น จะมั่นใจไดวาบุคคลนั้นเปนบุคคลที่ไดรับแจงหายไว

                                        ๔)  กรณีที่สถานีตํารวจไดรับแจงเบาะแสบุคคลสูญหายจาก กองทะเบียน
              ประวัติอาชญากร/ฝายเลขานุการ คบคน.ตร. ซึ่งเปนขอมูลคนหายที่ประชาชนโทรศัพทขอความชวยเหลือ

              มายัง ศูนยรับแจงขอมูลขาวสาร ๑๕๙๙ หรือสถาบันนิติวิทยาศาสตร กระทรวงยุติธรรม หรือสํานักงาน
              ยุติธรรมจังหวัด หรือศูนยดํารงธรรม หรือมูลนิธิกระจกเงา ใหพนักงานสอบสวนที่ไดรับมอบหมาย
              ประสานรายละเอียดกลับไปยังผูแจง โดยแนะนําใหผูแจงมาลงบันทึกประจําวันไวเปนหลักฐาน

              แลวดําเนินการบันทึกขอมูลคนหายพลัดหลงในระบบงานตามโครงการจัดทําระบบฐานขอมูลกลาง
              ในการจัดเก็บและสืบคนขอมูลบุคคลสูญหายและพิสูจนศพนิรนามของ ค.พ.ศ. ภายใน ๒๔ ชั่วโมง

              นับแตวันที่ไดรับแจง
                                        ๕)  ถาการสอบสวนรับแจงนั้นมีเหตุอันควรสงสัย  หรือเชื่อมั่นวา

              จะเกี่ยวของกับการเมือง ใหทําการสอบสวนมูลกรณีโดยละเอียด และรายงานดวนถึง ตร. (ผาน บช.ส.)
              เพื่อพิจารณาสั่งการใหดําเนินการสืบสวนติดตามเปนกรณีพิเศษ

                                        ๖)  ใหหัวหนาสถานีตํารวจ มอบหมาย รองหัวหนาหนวยที่รับผิดชอบ
              งานสืบสวน เปน รอง  ผอ.ศบคน. ในระดับสถานีตํารวจ เพื่อเปนศูนยกลางในการสั่งงาน ประสาน

              การปฏิบัติ ติดตามคนหาย และหมั่นไปติดตอเยี่ยมเยียนเปนระยะๆ โดยใหมีรายละเอียดวัน เดือน ป
              ที่สืบสวนติดตามและไดไปเยี่ยมเยียนสอบถามกับผูใด โดยใหผูนั้นลงลายมือชื่อในบันทึกการสืบสวน

              ติดตามเปนหลักฐานดวย
                                        ๗)  ใหพนักงานสอบสวนหรือผูที่ไดรับมอบหมายใหสืบสวนติดตามคนหาย

              จัดทํา “บันทึกการสืบสวนบุคคลสูญหาย” โดยมีรายละเอียดที่เกี่ยวของกับบุคคลผูสูญหาย แนวทาง
              การสืบสวนติดตามที่ไดดําเนินการไว และใหมีการสงมอบบันทึกการสืบสวนดังกลาว ใหผูมีหนาที่

              รับผิดชอบคนใหม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงโยกยายตําแหนงหรือเปลี่ยนแปลงงานที่รับผิดชอบ เพื่อใหการ
              สืบสวนติดตามมีความตอเนื่อง  แลวรายงานผลการสืบสวนติดตามมายัง กองทะเบียนประวัติอาชญากร/
              ฝายเลขานุการ คบคน.ตร.ภายในระยะเวลาที่กําหนด

                                        ๘)  ใหทุกสถานีตํารวจจัดทําสมุดสารบบคนหาย ตามแบบแนบทาย

              หนังสือ สํานักงานตํารวจแหงชาติ ที่ ๐๐๑๑.๒๒/๑๒๒๗ ลงวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๕ จัดเก็บไวที่สถานี
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84