Page 83 - การทะเบียนประวัติอาชญากร
P. 83

๗๖




                                        ๕)  หากผลการสอบสวนดําเนินคดีอาญา มีความเห็นวาจะตองมีการ
              ดําเนินการตามกระบวนการพิสูจนเอกลักษณบุคคลของสํานักงานตํารวจแหงชาติเพื่อการยืนยันเอกลักษณ

              บุคคลวาผูตายเปนใคร ใหพนักงานสอบสวนประสานขอความรวมมือโดยใหระบุในทายแบบขอมูล
              รับแจงเหตุคนหายพลัดหลง (แบบ ศบคน-๑) หรือแบบขอมูลรับแจงเหตุศพนิรนาม (แบบ ศบคน-๓)
              วา “พนักงานสอบสวนมีความเห็นวาจะตองมีการดําเนินการตามกระบวนการพิสูจนเอกลักษณ

              บุคคลของสํานักงานตํารวจแหงชาติ เพื่อการยืนยันเอกลักษณบุคคลวาผูตายเปนใคร จึงประสาน
              ขอความรวมมือกลุมงานพิสูจนเอกลักษณบุคคล สํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ ในการรวบรวมขอมูล

              กอนการเสียชีวิต (Ante Mortem - AM)”
                                ๗.๒.๔  การจัดการศพ
                                        หลังจากที่ไดมีการพิสูจนศพแลว พนักงานสอบสวนตองดําเนินการ ดังนี้

                                        ๑)  กรณีเปนศพที่พิสูจนทราบวาผูตายเปนใครแลว ถามีทายาท ญาติ
              หรือผูมีสิทธิ มาติดตอขอรับศพไปจัดการตามประเพณี ใหพนักงานสอบสวนมอบศพใหทายาท

              ญาติ หรือผูมีสิทธิ หลังจากที่ไดมีการตรวจสอบความสัมพันธเกี่ยวของจนแนชัดแลว ใหบันทึกไวเปน
              หลักฐานและลงนามรวมกัน
                                        ๒)  กรณีเปนศพที่ไมมีทายาท ญาติ หรือผูมีสิทธิ มาติดตอขอรับศพ หรือ

              เปนศพที่ยังไมทราบวาผูตายเปนใคร เมื่อรักษาศพไว ณ สถานที่ชันสูตรศพอยางนอยเปนเวลา ๓ วัน
              แลว ใหแจงเทศบาลทองถิ่น สมาคม หรือมูลนิธิเพื่อการนี้ รับศพไปจัดการเก็บที่สุสาน และใหดําเนินการ

              ดังนี้
                                            ๒.๑)  ใหจัดทําสมุดทะเบียนสงศพฝง โดยมีรายละเอียด ตามแบบ
              แนบทายหนังสือสํานักงานตํารวจแหงชาติ ที่ ๐๐๑๑.๒๒/๑๒๒๗ ลงวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๕

                                            ๒.๒)  ประสานเทศบาลทองถิ่น สมาคม หรือมูลนิธิเพื่อการนี้ กําหนด
              หมายเลขหลุมฝงศพ

                                            ๒.๓)  จัดทําแผนปายชื่อศพ (ถาศพยังไมมีชื่อหรือยังไมทราบชื่อ
              ใหเขียนวาศพ “ชาย” หรือ “หญิง” เทาที่จะทําได) วันที่สง หมายเลขหลุมฝงศพ เหตุตาย โดยติดไวที่
              ดานหนาของหลุมศพ แลวถายภาพเก็บไวเพื่อเปนหลักฐาน

                                            ๒.๔)  ใหผูเกี่ยวของจัดการหอศพใหเรียบรอย พรอมจัดทําปายชื่อศพ
              ตาม ๒.๓  หมายเลขศพติดไวบนผาหอศพ และตัวศพ จากนั้นจึงสงมอบศพไปเก็บยังสุสาน

                                        ๓)  การขุดศพ
                                            ๓.๑)  เมื่อไดรับการรองขอใหขุดศพ ใหพนักงานสอบสวนดําเนินการ
              ดังนี้

                                                  ๓.๑.๑)  เมื่อมีญาติมาแสดงความจํานงในการขอรับศพที่ฝงไว
              ใหเจาหนาที่ของหนวยงานตรวจสอบความถูกตองของเอกสารจากพนักงานสอบสวนที่ญาติของ

              ผูเสียชีวิตนํามาแสดง และตรวจสอบหลักฐานบัตรประจําตัวของผูมาติดตอขอรับศพ
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88