Page 8 - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานจราจร
P. 8
๑
º··Õè ñ
º·นํา
กฎหมายที่มีอยูทั่วไปนั้น เปนกลไกการบริหารประเทศของรัฐที่สรางขึ้น เพื่อรักษา
ความสงบเรียบรอยของบานเมือง โดยควบคุมพฤติกรรมของประชาชนใหเปนไปในทางเดียวกัน
การฝาฝนกฎหมายยอมมีบทลงโทษ กฎจราจรเปนกฎหมายเพื่อความปลอดภัย ที่บัญญัติขึ้นเพื่อควบคุม
ผูใชรถ ใชถนน ใหถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน จุดมุงหมายสําคัญในการบังคับใชกฎหมายจราจร
ก็เพื่อความสะดวกและความปลอดภัยในการเดินทาง ปุระชัย เปยมสมบูรณ (๒๕๒๖) กลาววา
ในการบังคับใชกฎหมายจราจร เปนเพียงการขมขวัญ ผูละเมิด หรือผูมีแนวโนมจะละเมิดกฎหมาย
หรือระเบียบเกี่ยวกับการจราจร แนวทางสําหรับการบังคับใชกฎหมายจราจรของเจาหนาที่ตํารวจ
ระดับปฏิบัติ จึงควรครอบคลุมสาระสําคัญ ดังตอไปนี้
๑. การใชดุลยพินิจของตํารวจ เจาหนาที่ตํารวจไมควรเครงครัดในการบังคับใชกฎหมาย
จราจรในลักษณะตีความตามตัวอักษร หมายความวา ในการบังคับใชกฎหมายจราจร เจาหนาที่ตํารวจ
ควรผอนปรนโดยตระหนักถึงโอกาสความผิดพลาด คลาดเคลื่อน ทั้งที่เกี่ยวของกับมนุษยและหรือ
เครื่องยนตกลไกที่อาจเกิดขึ้น นักบริหารงานตํารวจควรกําหนดนโยบายเพื่อยอมรับการใชดุลยพินิจ
ของเจาหนาที่ตํารวจผูปฏิบัติการในระดับและขอบเขตที่เหมาะสม ซึ่งเปนเจตนารมณของกฎหมาย
๒. การวากลาวตักเตือน ซึ่งเปนมาตรการจําเปนอันหนึ่งในการบังคับใชกฎหมาย
แตอยางไรก็ดี มาตรการนี้ยอมคลายความศักดิ์สิทธิ์ หากใชกันพรํ่าเพรื่อโดยไมคํานึงถึงสถานการณ
๓. การจับผูละเมิดกฎหมายโดยไมไดตั้งใจ การบังคับใชกฎหมายจราจรควรมีจุดมุงหมาย
เพื่อการขมขวัญ ยับยั้งและเพื่อใหการศึกษาแกผูละเมิดกฎหมายมิใชเพื่อจุดมุงหมายอื่น ดังนั้น
นักบริหารงานตํารวจจึงมีนโยบายที่แนนอนในการหลีกเลี่ยงการจับผิดผูละเมิดกฎหมายโดยไมไดตั้งใจ
เพราะนอกจากจะไมกอใหเกิดผลดีตอการควบคุมการจราจรแลวยังสรางความเกลียดชังตอเจาหนาที่
ตํารวจอีกดวย
๔. การเลือกบังคับใชกฎหมายซึ่งนับวาเปนความจําเปนที่หลีกเลี่ยงไมได เพราะหนวยงาน
ตํารวจ ไมมีอัตรากําลังเพียงพอที่จะบังคับใชกฎหมายทุกบททุกมาตราทั่วทุกมุมเมือง ตลอด ๒๔ ชั่วโมง
การเลือกบังคับใชกฎหมายจราจรที่เหมาะสมตองอาศัยขอมูลและการวางแผนโดยอาศัยผลการวิเคราะห
เพื่อจัดวางกําลังตํารวจอยางเหมาะสม รวมทั้งกําหนดการแกไขสาเหตุของความไมคลองตัวในการจราจร
และสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจราจร
ในการบังคับใชกฎหมายในปจจุบันตํารวจจราจรมักจะถูกกลาวหาในเรื่องไมมีความ
เปนธรรม จับกุมโดยไมมีความรู กลั่นแกลงจับกุม การทํายอดเรียกผลประโยชน เปนตน ดังนั้น
การปฏิบัติของตํารวจจราจรตองปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับการบังคับใชกฎหมายใหมีความโปรงใสและเปนธรรม
โดยตองมีหลัก ๓ ศ. ไดแก ศาสตร ศิลป และศีลธรรม ศาสตร หมายถึง ระบบวิชาความรู ในบทบาท