Page 9 - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานจราจร
P. 9

๒




              อํานาจและหนาที่ของตนเอง สวนศิลป ในที่นี้หมายถึง ฝมือในการจัดการที่ใหความสนใจปจจัยทางดาน
              สังคม อารมณและความรูสึกมาเปนองคประกอบในการตัดสินใจดวย การทํางานหรือการแกปญหาตาง ๆ

              จะใชแตศาสตร (วิชาความรู) อยางเดียวไมพอก็คงตองใชทั้งศาสตรและศิลปในการทํางาน ศิลปในการ
              ทํางาน คือ การรูจักนําศาสตรความรูมาใชใหเกิดประโยชนเปนที่พอใจของประชาชน และประการ
              สุดทายที่สําคัญที่สุด คือ ศีลธรรม ตามจริยธรรมและจรรยาบรรณของผูปฏิบัติหนาที่จราจร กฎหมาย

              ที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติหนาที่ดานการจราจร มีจํานวนมากหลายฉบับดวยกัน การบูรณาการความรู
              ในการบังคับใชกฎหมายกับผูกระทําผิดกฎหมายจราจร จึงตองอาศัยความรูจากกฎหมายหลายๆ

              เรื่องดวยกัน
                         ¡®ËÁÒ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº§Ò¹´ŒÒ¹¡ÒèÃҨ÷ÕèÁռźѧ¤ÑºãªŒã¹»˜¨¨ØºÑ¹

                         ปจจุบันมีกฎหมายที่เกี่ยวของกับงานดานการจราจรหลายฉบับที่สําคัญ ๆ มีดังนี้
                         ๑)  พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉับบที่ ๑๒)

              พ.ศ. ๒๕๖๒ เปนกฎหมายที่มีหลักการเกี่ยวกับรถ การใชรถใชถนนและการจราจร จึงใชบังคับกับเจาของรถ
              ผูขับขี่ คนเดินเทา และผูใชรถใชถนนทุกคน โดยไดบัญญัติเกี่ยวกับลักษณะของรถที่ใชในทาง การใชไฟ
              หรือเสียงสัญญาณของรถ การบรรทุก สัญญาณจราจรและเครื่องหมายจราจร การใชทางเดินรถ

              และไดกําหนดรายละเอียดในการขับรถ การขับแซง และผานขึ้นหนา การออกรถ การเลี้ยวรถ และการ
              กลับรถ ฯลฯ นอกจากนี้ยังไดกําหนดอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานจราจรและพนักงานเจาหนาที่

              ในการควบคุม ดูแล และการจัดการจราจร
                         ๒)  พระราชบัญญัติการขนสงทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ เปนกฎหมายที่ตราขึ้นโดยมีเจตนารมณ

              เพื่อจัดระเบียบและควบคุม กํากับ ดูแลการขนสงทางถนน ใหมีความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย ประหยัด
              เปนธรรม และเกิดความคุมคาทางเศรษฐกิจ โดยมีคณะกรรมการนโยบายการขนสงทางบก ทําหนาที่

              กําหนดนโยบายและมาตรการดานการขนสง และมีคณะกรรมการควบคุมขนสงทางบกทําหนาที่กําหนด
              รายละเอียดเกี่ยวกับการขนสงใหเปนมาตรฐาน นอกจากนี้ กฎหมายยังไดกําหนดลักษณะการประกอบ
              การขนสง การชดใชคาเสียหายที่เกิดจากการขนสง การรับจัดการขนสง มีบทบัญญัติรถ ผูประจํารถ

              ผูโดยสารตลอดจนสถานีขนสง
                         ๓)  พระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ เปนกฎหมายที่ตราขึ้นโดยมีเจตนารมณ

              เพื่อควบคุมการจดทะเบียนรถและการเสียภาษีประจําป โดยมีการกําหนดประเภทและลักษณะของ
              รถยนตที่สามารถใชวิ่งบนทาง ตลอดจนใบอนุญาตขับขี่เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการใชทางรวมกัน
                         ๔)  พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕ เปนกฎหมายที่ตราขึ้นเพื่อบังคับกับกิจการ

              หรือกระทําใด ๆ ที่เกี่ยวของบนทางหลวง โดยกําหนดประเภทของทางหลวง การกํากับตรวจตรา
              และควบคุมทางหลวง และงานทาง ตลอดจนการควบคุม การรักษา การขยายและสงวนเขตทางหลวง

              และทางหลวงพิเศษ ทั้งนี้ เพื่อใหสภาพการใชทางหลวงเกิดความสะดวก ฯลฯ
                         ๕)  กฎหมายอื่น ๆ เชน กฎหมายขององคกรสวนทองถิ่น พระราชบัญญัติคุมครองประกันภัย

              จากรถ เปนตน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14