Page 61 - Ratthasatr Boonpsal
P. 61
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของ
ค าตอบ
ในกิจกรรมตามตัวชี้วัด : กิจกรรมที่ 1.2 และกิจกรรมที่ 1.5
จากแบบวัดฯ
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ
ศักราชแบบต่างๆ
4. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด
ขั้นที่ 6 ปฏิบัติและ/หรือแสดงผลงาน
สื่อการเรียนรู้ : ค าถามกระตุ้นความคิด
1. แบบวัดฯ ถ้าเปรียบเทียบศักราชผิดพลาด จะส่งผลต่อ
2. ใบงานที่ 1.5 การศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไร
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอผลงานในใบงานที่ 1.5 (พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน
หน้าชั้นเรียน โดยมีครูและเพื่อนกลุ่มอื่นร่วมกันตรวจสอบ ดุลยพินิจของครูผู้สอน)
ความถูกต้องและให้ข้อเสนอแนะ
2. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยค าตอบในกิจกรรมตามตัวชี้วัด
: กิจกรรมที่ 1.2 และกิจกรรมที่ 1.5
3. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด
ขั้นที่ 7 ประยุกต์ใช้ความรู้
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ : –
ครูให้นักเรียนน าความรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทียบศักราชแบบ
ต่างๆ ไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของ
ไทย หรือของประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มอาเซียนต่อไป
• ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันท ารายงานการสืบค้นเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ไทยที่สนใจ
โดยให้ครอบคลุมประเด็นตามที่ก าหนด ดังนี้
1) การวิเคราะห์ความส าคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์
2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์และความส าคัญของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ไทยที่มีผลต่อปัจจุบันและอนาคต
3) การยกตัวอย่างและเปรียบเทียบศักราชแบบต่างๆ
นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1