Page 35 - JMSD Vol.1 No.2 - 2016
P. 35
วารสาร มจร การพัฒนาสังคม
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2559
(ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Development) หากพิจารณาจากรากศัพท์ ค�าว่า พัฒนามาจากภาษา
บาลีว่า วัฒนะ หรือ วัฒนา ค�านี้หมายถึงความเจริญก้าวหน้า หรือภาวะยืนยาวนาน เช่น ค�าว่า
อายุวัฒนะ หมายถึง ท�าให้อายุยืนนาน อันหมายรวมถึง ความเป็นผู้มีสุขภาพแข็งแรงดี ไม่มีโรค
ภัยไข้เจ็บมาเบียดเบียน และนอกจากนี้ ค�าว่า วัฒนะ หมายถึงรกรุงรัง ไม่มีระเบียบเลยก็ได้ เช่น
ค�าว่า โลกวัฒโน หมายถึง เป็นคนรกโลก เป็นสิ่ง/เป็นคนที่โลกไม่ต้องการ อย่างไรก็ตาม ค�าว่า
การพัฒนาในที่นี้เป็นค�าที่ก�าหนดให้มีคุณค่า และตามหลักการ ของพระพุทธศาสนา การพัฒนาจะ
ต้องด�าเนินไปพร้อม ๆ กัน 4 ทาง คือ การพัฒนาทางด้านกายภาพ การพัฒนาศีลธรรมและ/หรือ
การพัฒนาสังคม การพัฒนาทางด้านจิตใจและการพัฒนาทางด้านปัญญา นอกจากนี้พระพุทธ
ศาสนาพิจารณาว่าการพัฒนาเป็นกระบวนการพยายามที่จะด�าเนินการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง
รักษา สิ่งที่ดีให้คงอยู่ ซึ่งสามารถน�ามาใช้ประโยชน์ในการเปลี่ยนแปลงฟื้นฟู และปรับปรุงทั้ง
ตนเอง และสังคมรอบข้างให้ดีขึ้นและมีความหมายมากยิ่งขึ้น แต่ความส�าเร็จหรือความล้มเหลว
ในกระบวนการพัฒนาขึ้นอยู่กับบุคคลเป็นส่วนส�าคัญ (จ�านงค์ อดิวัฒนสิทธิ์,2548)
กล่าวโดยสรุปว่า สาระส�าคัญของความคิดเกี่ยวกับการพัฒนานั้น เนื่องมาจากปรัชญา
พื้นฐานของพุทธศาสนาที่ปรารถนาชี้ทางหลุดพ้นจากความทุกข์และชี้ทางสู่ความสุขให้แก่มนุษย์
ตามหลักค�าสอนนี้ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาได้กล่าวถึง เช่น ภาวนา 4 อปริหานิยธรรม 7
เป็นต้น ล้วนเป็นการพัฒนาทั้งในส่วนของสังคม และตัวมนุษย์ แต่จะเน้นที่การพัฒนาคน เพราะ
เมื่อคนพัฒนาแล้ว ทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ จะน�าไปสู่การพัฒนาชุมชน สังคม และเป็นการ
พัฒนาที่ท�าให้เกิดผลของการพัฒนาอย่างแท้จริง
พระสงฆ์กับบทบำทในกำรพัฒนำชุมชน
สภายุวพุทธสมาคมแห่งชาติในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระ
สังฆราช ได้บรรยายพิเศษเรื่อง “พุทธธรรมกับการพัฒนาชนบท” มีสาระส�าคัญบางประการดังนี้
(สภายุวพุทธสมาคมแห่งชาติในพระบรมราชูปถัมภ์, 2538)
พระพุทธเจ้าก็ได้ตรัสเตือนภิกษุสงฆ์อยู่เสมอ ดังพระพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ในที่แห่งหนึ่ง
ว่า“บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆว่าความเป็นอยู่ของเราเนื่องด้วยผู้อื่น” และในอีกแห่งหนึ่ง
ใจความว่า“ภิกษุทั้งหลาย ชาวบ้านมีอุปการะแก่เธอ บ�ารุงเธอด้วยปัจจัย 4 แม้พวกเธอก็จงมี
อุปการะแก่ ชาวบ้านด้วยการแสดงธรรมอันงามในเบื้องต้น ท่ามกลางและที่สุดให้แจ่มแจ้ง ทั้ง
อรรถ ทั้งพยัญชนะแก่ชาวบ้านเถิด เพราะคฤหัสถ์และบรรพชิตต่างต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
ด้วย การให้วัตถุและให้ธรรม” และในอีกที่หนึ่งตรัสไว้ใจความว่า”ภิกษุพึงแผ่เมตตาจิตเพื่อที่จะ
ได้ไม่ท�าให้การฉันข้าวของชาวบ้านเป็นของว่างเปล่า ซึ่งหมายความว่า “ภิกษุแผ่เมตตาแก่ชาว
บ้านเป็นการตอบแทนอุปการะของชาวบ้าน”
ในค�าสอนเรื่องทิศ 6 ได้ตรัสถึงหน้าที่ของพระสงฆ์ที่จะพึงมีต่อชาวบ้านไว้ว่า
1. ห้ามมิให้ท�าความชั่ว
2. ให้ตั้งอยู่ในความดี
3. อนุเคราะห์ด้วยน�้าใจอันงาม
27