Page 2 - การเกิดปิโตรเลียม
P. 2
2
ปิโตรเลียม ประกอบไปด้วยสารประเภทไฮโดรเจนและคาร์บอน เป็นองค์ประกอบหลัก มีทั้งส่วน ที่เป็น
ของเหลวและก๊าซ ที่เรียกรวมกัน ว่าเชื้อเพลิงฟอสซิล ซึ่งจะแตกต่างกันไปตามแหล่งกําเนิด จะไม่ว่าจะขุดพบ
ปิโตรเลียมที่ไหนสิ่งที่เหมือนกัน คือ ส่วนที่เป็นก๊าซ จะลอยอยู่ด้านบนสุดตามด้วยน้ํามัน และ ส่วนที่เป็นน้ําจะอยู่
ต่ํากว่าน้ํามันเสมอ ปิโตรเลียมเกิดขึ้นได้ต้องมีสภาพที่เหมาะสมหากไม่เช่นนั้นก็จะเล็ดลอดออกสู่พื้นผิวโลกแล้ว
ระเหยหายไปจนหมดปิโตรเลียมจัดได้ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ทางธรรมชาติ ที่ได้จากการสลายตัวของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช และ
สัตว์ รวมกันปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นเรื่อย ๆ ในน้ ามันดิบ ที่เคลื่อนตัวเข้ามาก่อนถึงโครงสร้าง กักเก็บเป็นเวลายาวนาน
หลายล้านปี ซึ่งอาจะเป็นเหตุผลที่อธิบายได้ว่าท าไมน้ ามันจากบ่อต่าง ๆ จึงไม่เหมือนกัน ตะกอนที่ปนอินทรีย์วัตถุ
หรือที่จะให้น้ ามันสะสมตัวอยู่ในปัจจุบันนี้ คือ ตะกอนที่มีแร่ดินเหนียวอยู่ด้วยมาก ขณะที่กักเก็บน้ ามันจริง ๆ คือ
หินทราย ซึงประกอบด้วยแร่เขี้ยวหนุมานเป็นส่วนใหญ่ หรือไม่ก็เป็นหินปูน ที่มีแร่แคลไซต์มาก หรือพวกหินที่มีรอย
แตกมากมาย จึงดูเหมือนว่าน้ ามันเกิดอยู่ที่หนึ่ง และต่อมาจึงเปลี่ยนเคลื่อนย้ายไปสะสมตัวอยู่อีกที่
ซึ่งความจริงการเคลื่อนย้ายตัวของน้ ามันก็มีหลักการคล้าย ๆ กับการเคลื่อนย้ายของน้ าใต้ดิน หินทรายเป็น
หินที่มีความสามารถยอมให้ของเหลวไหลผ่านสูงกว่าหินดินดานมาก จึงยอมให้น้ ามันผ่านเข้ามาได้และที่ส าคัญ
คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างน้ ามันกับแร่เขี้ยวหนุมาน หรือแร่แคลไซต์มีน้อยกว่าน้ ากับแร่ดังกล่าว น้ ามันจึงผ่านไปได้
แต่น้ ายังคงยึดเกาะอยู่ น้ ายึดเกาะข้างเม็ดแร่อย่างมากส่วนน้ ามันอยู่ตรงกลางช่องว่างโดยไม่ยอมผสมกัน และเบา
กว่าน้ ามาก ดังนั้นน้ ามันจึงลอยสูงขึ้นมาเจอแหล่งกักเก็บ และสะสมตัวอยู่ได้เหนือน้ าใต้ดิน และโอกาสที่จะสะสมอยู่
ได้ในตะกอนมีเพียง 0.1% ของน้ ามันที่เกิดมาหินทรายเป็นหินกักเก็บได้ดีกว่าหินปูนปิโตรเลียมเป็นเชื้อเพลิงซาก
ดึกด าบรรพ์เกิดจากการกลายเป็นซากดึกด าบรรพ์ของอินทรีย์วัตถุ เช่น แพลงก์ตอนสัตว์และสาหร่ายซึ่งซากดึกดํา
บรรพ์จ านวนมากของอินทรียวัตถุเหล่านี้ยังอยู่ ณ ก้นทะเลหรือทะเลสาบ ผสมกับตะกอน และถูกฝังอยู่ใต้สภาวะที่
ไม่มีออกซิเจน เมื่อมีการทับถมกันสะสมเพิ่มขึ้นที่ก้นทะเลหรือทะเลสาบ ก็จะเกิดความร้อนและความดันอย่าง
รุนแรงเกิดขึ้นที่ชั้นต่ ากว่า
หินทราย หินดินดาน ศึกษาเรื่องหินเพิ่มเติมได้ที่นี่ เลยค่ะ สแกนเลย
ตัวอย่างโครงสร้างแหล่งกักเก็บ ตัวอย่างฟอสซิลปลา
ภาพที่ 1.2 หินชนิดต่างๆ
ที่มา ( หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ สารและสมบัติของสาร ชั้น ม.4-6)