Page 3 - การเกิดปิโตรเลียม
P. 3

3



                        กระบวนการที่ท าให้อินทรีย์วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยขั้นแรกจะเปลี่ยนเป็นเคอโรเจน ซึ่งพบในหิน
                 น้ ามันทั่วโลก จากนั้นเมื่อเคอโรเจนได้รับความร้อนมากขึ้น ก็จะเปลี่ยนแปลงต่อเป็นไฮโดรคาร์บอนที่เป็นของเหลว
                 และแก๊สผ่านกระบวนการชื่อ ช่วงการก าเนิด (catagenesis) การก าเนิดปิโตรเลียมเกิดขึ้นจากการสลาย

                 ไฮโดรคาร์บอนด้วยความร้อนในปฏิกิริยาดูดความร้อนเป็นหลักที่อุณหภูมิ และ/หรือ ความดันสูง หลายปฏิกิริยาใน
                 สภาพแวดล้อมซึ่งอุดมไปด้วยสารอาหาร อย่างอ่าวเม็กซิโกและทะเล ทีทีสโบราณ ซึ่งอินทรีย์วัตถุปริมาณมากที่จม

                 ลงสู่ก้นมหาสมุทรเกินกว่าอัตราที่เกิดการย่อยสลาย อันส่งผลให้อินทรียวัตถุปริมาณมากถูกฝังอยู่ใต้สิ่งที่ทับถม
                 ตามมาอย่างชั้นหินที่ก่อตัวขึ้นจากโคลน
                        ตะกอนอินทรีย์วัตถุมหาศาลนี้ภายหลังจะถูกความร้อนและเปลี่ยนแปลงภายใต้แรงดันเป็นน้ ามันนัก
                 ธรณีวิทยาศึกษาพบพิสัยอุณหภูมิซึ่งน้ ามันก่อตัว โดยต่ ากว่าอุณหภูมิต่ าสุดซึ่งน้ ามันจะยังคงอยู่กักเก็บไว้ในรูปของ

                 เคอโรเจน และสูงกว่าอุณหภูมิสูงสุดที่น้ ามันจะเปลี่ยนเป็นแก๊สธรรมชาติผ่านกระบวนการแยกสลายด้วยความร้อน
                 บางครั้ง น้ ามันอาจก าเนิดที่ความลึกมาก ซึ่งอาจมีการเคลื่อนตัวและถูกกักไว้ในระดับที่ตื้นกว่ามาก
                        นักธรณีวิทยาจ านวนน้อยยึดถือสมมติฐานที่ว่าปิโตรเลียมก าเนิดจากอนินทรีย์วัตถุ โดยมีหลักการว่า

                 ไฮโดรคาร์บอนน้ าหนักโมเลกุลมากที่ก าเนิดขึ้นจากอนินทรีย์วัตถุเกิดขึ้นภายในโลก และเป็นแหล่งสะสมปิโตรเลียม
                 ส าคัญ สมมติฐานดังกล่าวเดิมเสนอโดย นิโคไล คูไคยาฟเซฟ (Nikolai Kudryavtsev) และวลาดีมีร์ พอร์ฟิริเยฟ
                 (Vladimir Porfiriev) ในคริสต์ทศวรรษ 1950 และล่าสุด โทมัส โกลด์ เสนอแนวคิดชีวภาคร้อนใต้ทะเลลึก (deep

                 hot biosphere) ที่คล้ายกัน แต่สมมติฐานดังกล่าวมิได้อธิบายเส้นทางการสังเคราะห์ทางอุณหพลศาสตร์ซึ่งจ าเป็น
                 ต่อการน าพาอนินทรีย์สารวัตถุไปใต้ผิวน้ ามัน, การสังเกตพบร่องรอยทางอินทรีย์ในเคอโรเจนและน้ ามัน และไม่มี
                 แหล่งสะสมน้ ามันถูกพบตามสมมติฐานดังกล่าว
   1   2   3   4   5   6