Page 4 - การสำรวจปิโตรเลียม
P. 4

4


                 ขั้นตอนการส ารวจหาและพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม ดังนี้ ( ต่อ )
                        3. การเจาะส ารวจ (Drilling) จะบอกให้ทรำบถึงควำมยำกง่ำยของกำรขุดเจำะเพื่อน ำปิโตรเลียมมำใช้

                 และบอกให้ทรำบว่ำสิ่งที่กักเก็บอยู่เป็นแก๊สธรรมชำติหรือน้ ำมันดิบ และมีปริมำณมำกน้อยเพียงใด ข้อมูลในกำร
                 เจำะส ำรวจจะน ำมำใช้ในกำรตัดสินถึงควำมเป็นไปได้ในเชิงเศรษฐกิจ เมื่อเจำะส ำรวจพบปิโตรเลียมในรูปแก๊ส
                 ธรรมชำติหรือน้ ำมันดิบแล้ว ถ้ำหลุมใดมีควำมดันภำยในสูง ปิโตรเลียมจะถูกดันให้ไหลขึ้นมำเอง แต่ถ้ำหลุมใดมี

                 ควำมดันภำยในต่ ำ จะต้องเพิ่มแรงดันจำกภำยนอกโดยกำรอัดแก๊สบำงชนิดลงไป เช่น แก๊สธรรมชำติ แก๊ส
                 คำร์บอนไดออกไซด์






























                                                   ภาพที่ 1.16 การเจาะส ารวจ ปิโตรเลียม

                                   (ที่มา : http://petroleumtha-it.blogspot.com/p/blog-page_31.html)
                        4. การพัฒนาแหล่งและผลิตปิโตรเลียม

                                    เมื่อพบโครงสร้ำงแหล่งปิโตรเลียมแล้ว ก็จะท ำกำรทดสอบกำรผลิต (Welt Testing) เพื่อศึกษำ
                 สภำพกำรผลิต ค ำนวณหำปริมำณส ำรองและปริมำณที่จะผลิตในแต่ละวัน รวมทั้งปิโตรเลียมที่ค้นพบมำตรวจสอบ
                 คุณภำพ และศึกษำหำข้อมูลลักษณะโครงสร้ำงของแหล่งปิโตรเลียมและชั้นหินเพิ่มเติมให้แน่ชัด เพื่อน ำข้อมูลมำใช้
                 ในกำรออกแบบแท่นผลิต และวำงแผนเพื่อกำรผลิตต่อไป





                                                                                  ผลิตภัณฑ์ชนิดต่ำงๆ
                                                                                  ต้องผ่ำนกระบวนกำร
                                                                                      มำกมำย
   1   2   3   4   5   6   7