Page 5 - การสำรวจปิโตรเลียม
P. 5

5


                        การส ารวจน้ ามันดิบในประเทศไทย
                        มีกำรส ำรวจครั้งแรกใน พ.ศ. 2464 พบที่อ ำเภอฝำง จังหวัดเชียงใหม่ และพบแก๊สธรรมชำติที่มีปริมำณ

                 มำกพอเชิงพำณิชย์ในอ่ำวไทยเมื่อ พ.ศ. 2516 ต่อมำพบที่อ ำเภอน้ ำพอง จังหวัดขอนแก่น และ บ่อน้ ำน้ ำมัน "แหล่ง
                 สิริกิติ์" อ ำเภอลำนกระบือ จังหวัดก ำแพงเพชร
                        ปริมำณส ำรองปิโตรเลียมในประเทศไทย มีปริมำณที่ประเมินได้ดังนี้

                        น้ ำมันดิบ 806 ล้ำนบำร์เรล
                        แก๊สธรรมชำติ  32 ล้ำนลูกบำศก์ฟุต
                        แก๊สธรรมชำติเหลว  688 ล้ำนบำร์เรล

                        แหล่งน้ ำมันดิบใหญ่ที่สุดของประเทศ ได้แก่ น้ ามันดิบเพชรจากแหล่งสิริกิติ์ กิ่งอ ำเภอลำนกระบือ จังหวัด
                 ก ำแพงเพชร แหล่งผลิตแก๊สธรรมชำติที่ใหญ่ที่สุดอยู่ในอ่ำวไทยชื่อว่ำ แหล่งบงกช เจำะส ำรวจพบเมื่อ พ.ศ. 2523
                        แหล่งสะสมปิโตรเลียมขนำดใหญ่ที่สุดของโลกอยู่ที่ อ่าวเปอร์เซีย รองลงมำคือบริเวณอเมริกำกลำง

                 อเมริกำเหนือ และรัสเซีย ปิโตรเลียมที่พบบริเวณประเทศไนจีเรียเป็นแหล่งปิโตรเลียมที่มีคุณภำพดีที่สุด เพรำะมี
                 ปริมำณสำรประกอบก ำมะถันปนอยู่น้อยที่สุดทั้งนี้ พื้นที่สัมปทำนนั้นถูกจัดสรรไว้เหมือนเป็นพื้นที่ศึกษำและส ำรวจ
                 แหล่งปิโตรเลียม เป็นพื้นที่ที่มีกำรประเมินแล้วว่ำมีโอกำสที่จะพบปิโตรเลียม เพรำะมีกำรศึกษำทำงธรณีวิทยำ

                 เบื้องต้นแล้วพบว่ำมีองค์ประกอบของปิโตรเลียมตำมที่กล่ำวไว้ข้ำงต้น (หินต้นก ำเนิด หินกักเก็บ และหินปิดกั้น) แต่
                 ไม่ได้หมำยควำมว่ำทุกพื้นที่จะประสบควำมส ำเร็จในกำรค้นพบปิโตรเลียม
                        ปีพ.ศ.2514 รัฐบำลได้ออกพระรำชบัญญัติปิโตรเลียม ท ำให้เอกชนสนใจแหล่งปิโตรเลียมกันอย่ำง
                 กว้ำงขวำง จนกระทั่งปีพ.ศ.2516 ได้พบก๊ำซธรรมชำติเป็นจ ำนวนมำกครั้งแรกในอ่ำวไทยในหลุมผลิตของ บริษัท

                 ยูโนแคลไทยแลนด์ จ ำกัด ชื่อว่ำ “แหล่งเอราวัณ” ซึ่งสำมำรถพัฒนำขึ้นมำใช้ประโยชน์ได้
























                                            ภาพที่ 1.17 พื้นที่แหล่งเจาะส ารวจ ปิโตรเลียม


                              (ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ สารและสมบัติของสาร ชั้น ม.4-6)
   1   2   3   4   5   6   7