Page 7 - เสื่อกกบางสระเก้า จันทบุรี
P. 7

~ 4 ~


                     เสื่อกกจันทบูร เปนภูมิปญญาทองถิ่น นํามาผสมผสานกับธรรมชาติและวัตถุดิบใน

              พื้นที่ ผนวกเขากับสีสันและลวดลายจากงานศิลปะ  เกิดเปนงานหัตถศิลป ที่มีคุณคาของ
              จังหวัดจันบุรี  ดังคําขวัญของจังหวัดจันทบุรีกลาวไววา

                     “ น้ําตกลือเลื่อง  เมืองผลไม  พริกไทยพันธุดี  อัญมณีมากเหลือ  เสื่อจันทบูร

                        สมบูรณธรรมชาติ  พระเจาตากสินมหาราช  รวมญาติกูชาติที่จันทบุรี ”
                     ที่ตําบลบางสระเกา นางสุริยา แกนจันทร เปนบุคคลหนึ่งที่ไดรับการถายทอด

              กระบวนการและวิธีการทอเสื่อจากบิดามารดา นางสุริยา แกนจันทร เปนบุตรสาวของพอ

              หยับ แมละมอม แถวเนิน ซึ่งบิดา มารดาของนางสุริยา  แกนจันทร ก็ไดรับการถายทอด

              และเรียนรูมาจาก ปูยา , ตายาย อีกทอดหนึ่งเชนเดียวกัน นางสุริยา แกนจันทร เมื่อครั้ง
              เยาววัย ก็ไดรับการปลูกฝงและใหมีสวนรวมในขั้นตอนของการทําเสื่อ  วิถีชีวิตในชุมชน

              สวนมากจะอยูรวมกันเปนครอบครัวใหญ ชวยกันปฏิบัติภารกิจการงานในการทําเสื่อ

              เด็กๆ จะไดมีโอการเรียนรูขั้นพื้นฐาน เชน การจักกก  ตัดกก ยอมสีและการทอเสื่อ เปน
              ตน ขั้นตอนและกระบวนการตางๆ จะซึมซับเขาไปสรางความเขาใจในการทํางานโดย

              อัตโนมัติ ซึ่งยังเปนการสรางสัมพันธอันดีในครอบครัวและชุมชนอีกดวย เมื่อนางสุริยา

              สมรสและแยกครอบครัวออกมา ก็ประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม และนําความรูเรื่อง

              ของการทอเสื่อที่ไดรับการถายทอดมาทําเปนอาชีพเสริมสรางรายไดใหกับครอบครัว  ใน
              ระยะแรกๆ  การทอเสื่อจะทอเปนผืนใหญ มีหลายขนาดตั้งแตขนาดกวาง 5 คืบ ถึง กวาง

              10 คืบ เสื่อปกติจะยาวประมาณ 10 คืบ ( คืบ เปนคํา กริยา ใชเปนหนวยวัดในการ ซื้อ–

              ขาย เสื่อในอดีตเพราะชาวบานไมมีเครื่องมือมาตรฐานจึงใชวิธีการคืบดวยมือ จะเห็นไดวา
              เสื่อในอดีตจะมีขนาดไมเทากัน เนื่องจากการคืบนิ้วของแตละคนไมเทากัน ตอมาเมื่อ

              ชาวบานเริ่มมีความรูและมีมาตราเมตริก จึงไดเทียบให 1 คืบ เทากับ 20 เซนติเมตร )

              สําหรับเสื่อที่มีความยาวกวา 10 คืบ เรียกวา “เสื่อลวด” เสื่อที่ทอมีการเมมริมเสื่อ เสื่อ
              เริ่มเปลี่ยนแปลงในยุคของนางสุริยา แกนจันทร ซึ่งทอเสื่อจําหนายไดระยะหนึ่งก็รูสึกได

              ถึงความอิ่มตัวของตลาด ประกอบกับเสื่อจันทบูร มีความแข็งแรงทนทาน ไมชํารุดงาย ทํา

              ใหมีผูซื้อนอยลง ในขณะนั้นประชากรยังมีไมมาก นางสุริยา  แกนจันทร  จึงเกิดแนวคิด
              ใหมนําเสื่อผืนเกาๆ มาตัดและอาศัยความรูในการใชจักร  เย็บผามาประยุกตใชผากุนริม

              แตละชิ้นแลวนํามาเย็บตอกันเปนผืนจากเสื่อรูปแบบเดิมผืนใหญไมสามารถพับไดนําติดตัว

              ไมสะดวก เกิดเปนผลิตภัณฑเสื่อกกรูปแบบใหม ผลที่ไดจากเสื่อผืนใหญสามารถพับใหเล็ก

              ลง  นําพาติดตัวไปใชงานสะดวกทุกพื้นที่  เปนที่ถูกตาถูกใจของผูพบเห็น เกิดการ
              ขับเคลื่อนตัวในตลาดเสื่อไดอีกครั้งหนึ่ง และตั้งชื่อวา “ เสื่อพับปกนิก ” เมื่อนําออกไป

              จําหนายในตลาดปรากฏวาเปนที่ตองการของผูบริโภคทั้งในพื้นที่และตางพื้นที่ มีรายการ

              สั่งซื้อเสื่อเขามามาก นางสุริยาผูเดียวไมสามารถผลิตไดทัน
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12