Page 13 - การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2
P. 13
5
เรื่องที่ 2 สถานการณพลังงานไฟฟาของประเทศไทย และประเทศในอาเซียน
ปจจุบันการใชพลังงานไฟฟาเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเชื้อเพลิงฟอสซิลซึ่งเปน
เชื้อเพลิงหลักที่นํามาใชในการผลิตไฟฟาเริ่มลดลงเรื่อย ๆ จนอาจสงผลกระทบตอการผลิตไฟฟา
ในอนาคต หากยังไมตระหนักถึงสาเหตุดังกลาว อาจประสบปญหาการขาดแคลนพลังงานได
ในอนาคต จึงจําเปนตองเขาใจถึงสถานการณพลังงานไฟฟา และแนวโนมการใชไฟฟาในอนาคต
ในเรื่องที่ 2 ประกอบดวย 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 สถานการณพลังงานไฟฟาของประเทศไทย
ตอนที่ 2 สถานการณพลังงานไฟฟาของประเทศในอาเซียน
ตอนที่ 1 สถานการณพลังงานไฟฟาของประเทศไทย
ปจจุบันพลังงานไฟฟาไดเขามามีบทบาทตอการดํารงชีวิตของประชาชนและ
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศมากขึ้น ที่ผานมาความตองการใชไฟฟาของประเทศไทย
เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องประมาณรอยละ 4 – 5 ตอป เนื่องจากจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นและ
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยในป พ.ศ. 2557 ประเทศไทยมีการใชไฟฟาเปนอันดับที่
24 ของโลก ซึ่งเปนที่นากังวลวาพลังงานไฟฟาจะเพียงพอตอความตองการใชไฟฟาในอนาคต
หรือไม
อนึ่ง ประชาชนทุกคนควรมีความรู ความเขาใจในเรื่องการผลิตไฟฟา การใชไฟฟา
ในชวงเวลาตาง ๆ และแนวโนมการใชพลังงานไฟฟา เพื่อวิเคราะห และตระหนักถึงสถานการณ
พลังงานไฟฟาของประเทศไทย
1. สัดสวนการผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงประเภทตาง ๆ ของประเทศไทย
ประเทศไทยผลิตไฟฟาโดยใชเชื้อเพลิงที่หลากหลาย ซึ่งไดมาจากแหลงเชื้อเพลิงภายใน
และภายนอกประเทศ จากขอมูลของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย พ.ศ. 2558 พบวา
ประเทศไทยผลิตไฟฟาสวนใหญจากกาซธรรมชาติ รอยละ 69.19 ของการผลิตไฟฟาทั้งหมด
รองลงมา คือ ถานหินนําเขาและถานหินในประเทศ (ลิกไนต) รอยละ 18.96 พลังงานหมุนเวียน
รอยละ 11.02 (พลังน้ําลาว รอยละ 6.42 พลังน้ําไทย รอยละ 2.23 และชีวมวลและอื่น ๆ
รอยละ 2.37) น้ํามันเตา รอยละ 0.62 และน้ํามันดีเซลรอยละ 0.13 นอกจากนี้ยังนําเขา
พลังงานไฟฟาจากประเทศมาเลเซีย รอยละ 0.07