Page 18 - การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2
P. 18

10

               อยางรวดเร็ว ซึ่งการขยายตัวของภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม การลงทุน และชีวิตความเปนอยู

               ของประชาชน สงผลใหความตองการพลังงานไฟฟาเพิ่มสูงขึ้นอยางมาก


                         อาเซียน เปนภูมิภาคที่มีทรัพยากรพลังงานมากและมีความหลากหลายกระจายอยู

               ในประเทศตาง ๆ ทั้งน้ํามัน กาซธรรมชาติ พลังน้ํา และถานหิน โดยทางตอนเหนือของภูมิภาค


               ไดแก ประเทศเมียนมาร ลาว และเวียดนาม มีแหลงน้ํามากจึงมีศักยภาพในการนําน้ํามาใช

               ผลิตไฟฟา สวนตอนกลางและตอนใตของภูมิภาค ไดแก ประเทศมาเลเซีย ไทย กัมพูชา บรูไน และ

               อินโดนีเซีย มีแหลงกาซธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีแหลงถานหินในประเทศไทย มาเลเซีย และ


               อินโดนีเซีย โดยสัดสวนการผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงตาง ๆ ของประเทศสมาชิกในอาเซียนมีดังนี้




































               ที่มา: The World Bank-World Development Indicators


                         ภาพสัดสวนการใชเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาของประเทศในอาเซียน ป พ.ศ. 2557


                         จากสัดสวนการใชเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาของกลุมประเทศอาเซียน พบวาประเทศ


               ในภูมิภาคอาเซียนมีการผลิตไฟฟาจากกาซธรรมชาติมากที่สุด  รองลงมา คือ ถานหิน  พลังน้ํา

               น้ํามัน และพลังงานทดแทน ตามลําดับ

                         แนวทางการจัดการดานพลังงานระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน เนนการสราง


               ความมั่นคงดานพลังงาน การเสริมสรางความมั่นคงของระบบไฟฟา (Securityof Power System)

               โดยกระจายการใชเชื้อเพลิงทั้งชนิดและแหลงที่มาใหมีความสมดุลและเหมาะสม เพื่อเปน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23