Page 16 - 5.Introduction to IoT Analytics using hadoop
P. 16

หลักสูตรการวิเคราะหอินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่งเบื้องตนดวย Hadoop   15



                           ในการออกแบบระบบ IoT การเลือก Protocol ที่ใชในการเชื่อมตออุปกรณใหเหมาะสมเปนเรื่องสำคัญมาก ซึ่ง

                  อาจมีผลทำใหการทำงานของระบบสำเร็จหรือลมเหลว ในปจจุบันเทคโนโลยีการสื่อสารที่ใชกันอยูทั่วไป และสามารถนำ
                  อุปกรณ IoT ไปใชรวมดวยมีมากมาย ตัวอยางเชน WiFi, Bluetooth, 3G 4G/LTE นอกจากนี้ยังมี Protocol ที่ออกแบบมา

                  ใหใชกับ IoT โดยเฉพาะเชน ZigBee, Z-Wave, Thread อีกดวย ซึ่งรายละเอียดของแตละ Protocol เปนดังนี้


                  2.3  Bluetooth

                           เทคโนโลยีสื่อสารระยะใกลที่ใชกันอยูอยางแพรหลาย ซึ่งกลาวไดวาคอมพิวเตอรทุกเครื่องตองมี ลักษณะการ

                  สื่อสารในอดีตเปนการ pairing ระหวางอุปกรณเพื่อสงขอมูล คือตองมีการจับคูกันกอนจึงจะสามารถสื่อสารกันได แตปจจุบัน

                  ไดเพิ่มคุณสมบัติ Bluetooth Low Energy ( BLE  ขึ้นมา ทำใหการสื่อสารไมจำเปนตอง  pairing เพื่อสงขอมูลเพียงคูเดียว
                  อีกตอไป ทำใหรูปแบบการสื่อสารมีทางเลือกมากขึ้น ปจจุบันอุปกรณทั้ง Smarts Phone หรือ Wearable devices ตางก็มี

                  Bluetooth และยังออกแบบมาเพื่องานที่เนนการประหยัดพลังงานอีกดวย จึงเปนขอไดเปรียบอยางมากในการออกแบบ

                  อุปกรณ IoT ทีเนนประหยัดพลังงานและเชื่อมตอกับอุปกรณอยาง Smart Phone หรือ PC













































                                           รูปที่ 2.2 การประยุกตใช Bluetooth กับอุปกรณตางๆ
                                                     [ที่มา. www.yuden.co.jp]






                   INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP     สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21