Page 8 - 5.Introduction to IoT Analytics using hadoop
P. 8

หลักสูตรการวิเคราะหอินเทอรเน็ตของทุกสรรพสิ่งเบื้องตนดวย Hadoop   7



                           สถาปตยกรรม IoT และการวิเคราะหขอมูลขนาดใหญมีการนำเสนอวิธีการแบบใหมที่ใชเมตาดาตาโมเดลสำหรับ

                  การรวมวัตถุสถาปตยกรรม IoT แนวคิดนี้ถูกรวมเขากับกึ่งอัตโนมัติในสภาพแวดลอมสถาปตยกรรมองคกร แบบองครวม
                  วัตถุประสงคหลักคือเพื่อใหการสนับสนุนการตัดสินใจที่เพียงพอสำหรับธุรกิจที่ซับซอนการจัดการสถาปตยกรรมพรอมการ

                  พัฒนาระบบการประเมินและสภาพแวดลอมดานไอที ดังนั้นการตัดสินใจทางสถาปตยกรรมสำหรับ IoT จึงมีการเชื่อมโยงอยาง

                  ใกลชิดกับการติดตั้งโคดเพื่อใหผูใชเขาใจการรวมการจัดการสถาปตยกรรมองคกรกับ IoT

                  1.4  แนวคิด Internet of Things


                           เดิมมาจาก Kevin Ashton บิดาแหง Internet of Things ในป 1999 ในขณะที่ทำงานวิจัยอยูที่มหาวิทยาลัย

                  Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT เขาไดถูกเชิญใหไปบรรยายใหกับบริษัท Procter & Gamble (P&G
                  เขาไดนำเสนอโครงการที่ชื่อวา  Auto-ID Center ตอยอดมาจากเทคโนโลยี RFID ที่ในขณะนั้นถือเปนมาตรฐานโลกสำหรับ

                  การจับสัญญาณเซ็นเซอรตางๆ( RFID Sensors วาตัวเซ็นเซอรเหลานั้นสามารถทำใหมันพูดคุยเชื่อมตอกันไดผานระบบ

                  Auto-ID ของเขา โดยการบรรยายใหกับ P&G ในครั้งนั้น Kevin ก็ไดใชคำวา Internet of Things ในสไลดการบรรยายของ
                  เขาเปนครั้งแรก โดย Kevin นิยามเอาไวตอนนั้นวาอุปกรณอิเล็กทรอนิกสใดๆก็ตามที่สามารถสื่อสารกันไดก็ถือเปน

                  “internet-like” หรือพูดงายๆก็คืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่สื่อสารแบบเดียวกันกับระบบอินเทอรเน็ตนั่นเอง โดยคำวา

                  “Things” ก็คือคำใชแทนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆ เหลานั้น

                           ตอมาในยุคหลังป 2000 มีอุปกรณอิเล็กทรอนิกสถูกผลิตออกจัดจำหนายเปนจำนวนมากทั่วโลก จึงเริ่มมีการใชคำ

                  วา Smart ซึ่งในที่นี้คือ Smart Device, Smart Grid, Smart Home, Smart Network, Smart Intelligent Transportation
                  ตางๆเหลานี้ ลวนถูกฝง RFID Sensors เสมือนกับการเติม ID และสมอง ทำใหมันสามารถเชื่อมตอกับโลกอินเทอรเน็ตได ซึ่ง

                  การเชื่อมตอเหลานั้นเองก็เลยมาเปนแนวคิดที่วาอุปกรณเหลานั้นก็ยอมสามารถสื่อสารกันไดดวยเชนกัน โดยอาศัยตัว Sensor

                  ในการสื่อสารถึงกัน นั่นแปลวานอกจาก Smart Device ตางๆจะเชื่อมตออินเทอรเน็ตไดแลว ยังสามารถเชื่อมตอไปยังอุปกรณ

                  ตัวอื่นไดดวย






















                                          รูปที่ 1.3Kevin Ashton บิดาแหง Internet of Things
                                                  [ที่มา. https://www.aware.co.th]




                   INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP     สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13