Page 1191 - บทคดยอการทดลองสนสด 58 สมบรณ_Neat
P. 1191

สำหรับการแลกเปลี่ยนเชื้อพันธุกรรมทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ โดยเฉพาะการปรับปรุงพันธุ์

                       ซึ่งการปรับปรุงพันธุ์พืชเป็นปัจจัยสำคัญในการเพิ่มผลผลิตให้มีคุณภาพเป็นไปตามความต้องการของประเทศ
                       6. การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์

                              การรวบรวมพันธุ์และจำแนกลักษณะพันธุกรรม โดยสัณฐานวิทยาของเผือกจากแหล่งต่างๆ

                       ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศในแปลงรวบรวมพันธุ์ (Ex situ) เป็นการสร้างแหล่งพันธุกรรมและการ
                       อนุรักษ์พันธุกรรมเผือกของประเทศไทย และจะเป็นฐานข้อมูลทางพันธุกรรมของพันธุ์เผือกในประเทศไทย

                       สำหรับการปรับปรุงพันธุ์ ทั้งการคัดเลือกพันธุ์ดีเด่นหรือมีศักยภาพทางการค้า (elite lines) พันธุ์เผือกที่

                       ต้านทานโรคและแมลง พันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับการแปรรูป หรือพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับการสกัดสารเพื่อ
                       ประโยชน์ทางเภสัชกรรม เป็นต้น นอกจากนี้ในปี 2559 - 2564 มีงานทดลองการประเมินพันธุ์และการใช้

                       ประโยชน์ของเผือก เพื่อศึกษาคุณค่าทางโภชนาการและการใช้ประโยชน์ของเผือกจากสายพันธุ์ที่รวบรวม

                       ไว้จำนวน 310 สายพันธุ์

































































                                                          1124
   1186   1187   1188   1189   1190   1191   1192   1193   1194   1195   1196