Page 43 - ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง
P. 43
43
ขั้นตอนกํารแกะสลักไม้
๔. กํารแกะสลักลวดลําย คือ การใช้สิ่วที่มีความคม ตามขนาดและหน้าของสิ่วต่างๆ เช่น สิ่วหน้าตรง หน้าโค้ง และ ค้อนไม้เป็นเครื่องมือในการแกะสลักเพื่อทาให้เกิดลวดลาย ซึ่ง ต้องใช้ค้อนไม้ในการตอก และใช้สิ่วทาการขุด การปาด และ การแกะลวดลายทาให้เกิดความงามตามรูปแบบที่ต้องการซึ่งมี ลักษณะดังนี้
๔.๑ กํารขดุ พนื้ คือ การตอกสิ่วเดินเส้น โดยใช้สิ่วที่ พอดกี บั เสน้ รอบนอกของตวั ลาย เพอื่ เปน็ การคดั ลวดลายสว่ นใหญ่ ทั้งหมดก่อน โดยใช้ค้อนตอก เวลาตอกก็ควบคุมน้าหนักให้ เหมาะสมสม่าเสมอ เพื่อคมสิ่วจะได้จมลึกในระยะที่เท่ากัน แล้วจึงทาการใช้สิ่วหน้าตรงขุดพื้นที่ที่ไม่ใช่ตัวลายออกให้หมด ขดุ ชนั้ แรกใหข้ ดุ ตนื้ ๆ เพราะถา้ พนื้ ยงั ไมล่ กึ พอกย็ งั สามารถตอกซา้ อกี แล้วจึงขุดต่อไปเพื่อให้ได้ช่องไฟที่โปร่งมากขึ้น ถ้าต้องการนา ลวดลายแกะสลกั นนั้ ไปประดบั ในทสี่ งู กต็ อ้ งขดุ พนื้ ใหล้ กึ พอประมาณ เพื่อการมองเห็นในระยะไกล
๔.๒ กํารแกะยกขึ้น หลังจากที่ทาการขุดพื้นแล้วก็ แกะยกชั้นจัดตัวลายที่ซ้อนชั้นกัน เพื่อให้เห็นโคมลายที่ชัดเจน เพื่อปรับระดับความสูงต่าของแต่ละชั้น
๔.๓ กํารแกะแรลําย เริ่มจากการตอกสิ่วเดินเส้น ภายในของลวดลาย แลว้ กจ็ ะใชส้ วิ่ เลบ็ มอื ทา การปาดแกะแรลาย เกบ็ แตง่ สว่ นละเอยี ด ขอ้ สงั เกตในการปาดแรตวั ลาย เวลาปาด หรอื แกะแรตวั ลาย ชา่ งจา เปน็ ตอ้ งดทู างของเนอื้ ไมห้ รอื เสยี้ นไม้ เวลาใช้สิ่วต้องปาดไปตามทางของเนื้อไม้ คือ ไม่ย้อนเสี้ยนไม้ หรือสวนทางเดินของเนื้อไม้เพราะจะทาให้ไม้นั้นหลุดและบิ่น ได้ง่าย
๔.๔กํารปําดแตง่แรลํายคอื การตงั้สวิ่เผลเ้อยีงขา้งหนงึ่ ฉากข้างหนึ่ง แล้วปาดเนื้อไม้ออก จะเกิดความสูงต่าไมเ่ สมอกนั เพอื่ ทา ใหเ้ กดิ แสงเงาในตวั ลาย และมองเหน็ ไดช้ ดั เจนตามรูปแบบ ที่ต้องการ การปาดลายสามารถทาได้ ๓ วิธีคือ
- ปาดแบบช้อนลาย
- ปาดแบบพนมเส้น คือ พนมเส้นตรงกลาง - ปาดแบบลบหลังลาย (ลบเม็ดแตง)
สํานักงํานวฒันธรรมจงัหวดัลําปําง
ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง