Page 296 - คู่มือนักศึกษา 2558
P. 296
IMA-408 สัมมนาการจัดการอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
(Industrial Management Seminar)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : ไม่มี
รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่ : ไม่มี
การสัมมนาการจัดการอุตสาหกรรมโดยหัวข้อการสัมมนาอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของอาจารย์ในสาขาวิชา
IMA-409 การผลิตแบบโตโยต้า 3(3-0-6)
(Toyota Production System)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : ไม่มี
รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่ : ไม่มี
ปรัชญาและวิธีการผลิตและการจัดการโซ่อุปทานแบบ Toyota Production System หรือการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just in Time)
ซึ่งเป็นระบบการผลิตแบบดึง (Pull System) ที่มีกลไกที่ส่งต่อมาจากความต้องการของลูกค้า ผ่านกระบวนการเพิ่มคุณค่าโดยการลดช่วงเวลา
การผลิตให้สั้นลงด้วยการก�าจัดความสูญเปล่าที่ไม่ช่วยให้เพิ่มคุณค่าทั้ง 7 ประการ (7 Wastes) ฝึกปฏิบัติและวิเคราะห์ผลิตภาพการผลิตเพื่อ 283
ให้เห็นภาพการผลิตแบบ Toyota Production System ทั้งระบบโดยการศึกษาและวิเคราะห์จากโมเดลจ�าลอง
IMA-410 การวางแผนและควบคุมการผลิต 2 3(3-0-6) สถาบันเทคโนโลยีไทย - ญี่ปุ่น
(Production Planning and Control 2) Thai-Nichi Institute of Technology
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : IMA-305 การวางแผนและควบคุมการผลิต
รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่ : ไม่มี
ภาพรวมเส้นทางการน�า S&OP ไปใช้งาน ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมการส�าหรับกระบวนการ S&OP การด�าเนินการประชุม S&OP และ
การก�าหนดตระกูลผลิตภัณฑ์ การพัฒนา Spreadsheet เพื่อการวางแผนการขายและการปฏิบัติการ การวางแผนการผลิตหลัก (Master Pro-
duction Scheduling: MPS) การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Require Planning: MRP) การวางแผนความต้องการก�าลังการผลิต
(Capacity Reqirements Planning: CRP) การจัดล�าดับงาน การจัดตารางการผลิต และการปรับแผนการผลิต และการใช้โปรแกรมส�าเร็จรูป
ช่วยในการจัดท�า PERT/CPM
IMA-411 วิธีเชิงปริมาณขั้นสูง 3(3-0-6)
(Advanced Quantitative Method)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : MSC-109 หลักสถิติละความน่าจะเป็น, BUS-202 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่ : ไม่มี
วิธีเชิงปริมาณขั้นสูงเพื่อการวางแผนและการตัดสินใจ เพื่อแก้ปัญหาการจัดการธุรกิจโดยการสร้างแบบจ�าลอง การใช้วิธีการทาง
คณิตศาสตร์และสถิติ และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์กับปัญหาต่าง ๆ เช่น การโปรแกรมแบบจ�านวนเต็ม การวางแผนการผลิต การจัดการ
สินค้าคงเหลือ กระบวนการมาร์คอฟ การจ�าลองสถานการณ์