Page 291 - คู่มือนักศึกษา 2558
P. 291
เทคโนโลยีที่น�าไปใช้ช่วยในการตัดสินใจแก้ปัญหาประเภทต่าง ๆ ทั้งในอุตสาหกรรมและการบริหารจัดการ การแก้ปัญหาโดยใช้ตัว
แบบทางคณิตศาสตร์และเครื่องมือช่วยในการประมวลผลส�าหรับปัญหาต่าง ๆ เช่น ปัญหาในเรื่องการขนส่ง กระจายสินค้า และการจัดล�าดับ
งาน เป็นต้น การตัดสินใจเลือกทางเลือกกรณีมีทางเลือกหลายทางเลือก โดยใช้หลักการของ Analytic Hierarchy Process และเครื่องมือช่วย
ในการประมวลผล การจ�าลองผลของกระบวนการโดยใช้คอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์โครงการและเครื่องช่วยในการประมวลผล
IMA-310 วิธีเชิงปริมาณขั้นสูง 3(3-0-6)
(Advanced Quantitative Method)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : MSC-109 หลักสถิติและความน่าจะเป็น BUS-202 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่ : ไม่มี
วิธีเชิงปริมาณขั้นสูงเพื่อการวางแผนและการตัดสินใจ เพื่อแก้ปัญหาการจัดการธุรกิจโดยการสร้างแบบจ�าลอง การใช้วิธีการทาง
คณิตศาสตร์และสถิติ และการวางโปรแกรมคอมพิวเตอร์กับปัญหาต่าง ๆ เช่น การโปรแกรมแบบจ�านวนเต็ม การวางแผนการผลิต การจัดการ
สินค้าคงเหลือ กระบวนการมาร์คอฟ การจ�าลองสถานการณ์
278
IMA-311 การเพิ่มผลิตภาพ 3(3-0-6)
(Productivity Improvement)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : IMA-202 การศึกษาการท�างาน
รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่ : ไม่มี
แนวคิดและความเป็นมาของการเพิ่มผลิตภาพ โดยอาศัยเทคนิคต่าง ๆ ที่มีการใช้อย่างแพร่หลายในวงการอุตสาหกรรม ได้แก่ การ
ศึกษาการท�างาน การจัดผังโรงงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ 5ส Kaizen ข้อเสนอแนะ การมีส่วนร่วมในการท�างาน การจูงใจ การฝึกอบรม ลีน
สถาบันเทคโนโลยีไทย - ญี่ปุ่น
Thai-Nichi Institute of Technology
เทคโนโลยี ระบบคุณภาพ ซิกส์ซิกมา การก�าหนดตัวชี้วัด การตัดสินใจเพื่อการลงทุนในการเพิ่มผลิตภาพ การจัดการความเสี่ยง การแก้ไขปัญหา
และการประสานงาน โดยเน้นหนักให้ผู้ศึกษามีความสามารถในการประยุกต์ใช้
IMA-312 ระบบการผลิตแบบญี่ปุ่นขั้นสูง 3(3-0-6)
(Advance Japanese Production Systems)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : IMA-304 การควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรม
รายวิชาที่ต้องเรียนควบคู่ : ไม่มี
วิธีการผลิตโดยบูรณาการระบบการบริหารการผลิตแบบญี่ปุ่นที่เน้นการถ่ายทอดวัฒนธรรมองค์กร โดยใช้หลักการของ Monozukuri
และ Hitosukuri ที่เน้นการสร้างของและสร้างคนในรูปแบบของญี่ปุ่น ผสมผสานขั้นตอนการผลิต โดยอาศัยหลักการของระบบลีน (Lean) และ
การจัดการโซ่อุปทานที่มีกลไกที่ส่งต่อมาจากลูกค้าผ่านกระบวนการเพิ่มคุณค่า โดยใช้เทคโนโลยีการผลิต ฝึกปฏิบัติและวิเคราะห์ระบบ
โดยการศึกษาจากกรณีศึกษา และโมเดลจ�าลองในการฝึกปฏิบัติการสร้างของหลักของ Monozukuri