Page 152 - เล่ม 65 ม.ปลาย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมงฟอร์ต
P. 152
150
ว31221 เคมี
รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จ านวน 1.5 หน่วยกิต
บอกข้อปฏิบัติเบื้องต้น ความหมายของไอโซโทป แนวโน้มสมบัติของธาตุเรพรีเซนเททีฟตามหมู่และตาม
คาบ ปฏิบัติตนที่แสดงถึงความตระหนักในการท าปฏิบัติการเคมีเพื่อให้มีความปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม
ั
อธิบายข้อปฏิบัติเบื้องต้น เสนอแนวทางแก้ไขเมื่อเกิดอุบัติเหตุ วิวฒนาการของแบบจ าลองอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอนใน
ระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อยเมื่อทราบเลขอะตอมของธาตุ การเกิดพันธะโคเวเลนต์แบบพันธะเดี่ยว พันธะคู่ และ
ิ
พันธะสาม ด้วยโครงสร้างลิวอส สมบัติของสารโคเวเลนต์โครงร่างตาข่ายชนิดต่าง ๆ การเกิดไอออนการเกิดพันธะไอออนิกโดย
ใช้แผนภาพหรือสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส สมบัติของสารประกอบไอออนิก การเกิดพันธะโลหะ สมบัติของโลหะ เลือกใช ้
อุปกรณ์หรือเครื่องมือในการท าปฏิบัติการ วัดปริมาณต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ทดลอง ระบุหน่วยวัดปริมาณต่าง ๆ ของสาร
เปลี่ยนหน่วยวัดให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอด้วยการใช้แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย จ านวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของ
อะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ หมู่ คาบ ความเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ของธาตุเรพรีเซนเททีฟ ธาตุแทรนซิชันในตาราง
ธาตุ สภาพขวของโมเลกุลโคเวเลนต์ ชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ สืบค้นข้อมูลสมมติฐาน การทดลองหรือ
ั้
ผลการทดลองที่เป็นประจักษ์พยานในการเสนอแบบจ าลองอะตอมของนักวิทยาศาสตร์ สมบัติของสารโคเวเลนต์โครงร่างตา
ข่ายชนิดต่าง ๆ ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของสารประกอบไอออนิกสารโคเวเลนต์และโลหะได้อย่างเหมาะสม โครงงาน
วิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาที่พบในท้องถิ่น เขียนรายงานการทดลอง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอนใน
ระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อยเมื่อทราบเลขอะตอมของธาตุ สูตรสารโคเวเลนต์ สูตรสารประกอบไอออนิก สมการ
ไอออนิก สมการไอออนิกสุทธิของปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก วิเคราะห์แนวโน้มสมบัติของธาตุเรพรีเซนเททีฟตามหมู่
และตามคาบ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์ เรียกชื่อสารโคเวเลนต์ สารประกอบไอออนิก ค านวณพลังงานท ี่
เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาของสารโคเวเลนต์จากพลังงานพนธะ พลังงานที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏ
ั
จักรบอร์น-ฮาเบอร์ เปรียบเทียบความยาวพันธะ พลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์ จุดหลอมเหลว จุดเดือด การละลายน้ าของสาร
โคเวเลนต์ สมบัติบางประการของสารโคเวเลนต์ ไอออนิก โลหะ คาดคะเนรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์โดยใช้ทฤษฎีการผลัก
ระหว่างคู่อิเล็กตรอนในวงเวเลนซ์ น าเสนอแผนการทดลอง ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของสารประกอบไอออนิกสารโคเวเลนต์
และโลหะได้อย่างเหมาะสม ท าโครงงานวิทยาศาสตรโดยใช้ปัญหาที่พบในท้องถิ่น ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การ
์
พัฒนาทักษะการคิดสู่ศตวรรษที่ 21และตามนโยบายโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการเรียนรู้ ความเข้าใจ กระบวนการสร้าง
ความคิดรวบยอด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่มและกระบวนการปฏิบัติ
ให้ผู้เรียนมีความรักชาติ ศาสน์ กษตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นการท างาน รักความเป็น
ั
ไทย มีจิตสาธารณะ มีสุขภาพและสุนทรียภาพ
ผลการเรียนรู้
1. บอกและอธิบายข้อปฏิบัติเบื้องต้น และปฏิบัติตนที่แสดงถึงความตระหนักในการท าปฏิบัติการเคมี เพื่อให้มีความ
ปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม และเสนอแนวทางแก้ไขเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
2. เลือกและใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือในการท าปฏิบัติการ และวัดปริมาณต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
3. น าเสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขียนรายงานการทดลอง
้
4. ระบุหน่วยวัดปริมาณต่าง ๆ ของสาร และเปลี่ยนหน่วยวัดให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอด้วยการใชแฟกเตอร์เปลี่ยน
หน่วย
5. สืบค้นข้อมูลสมมติฐาน การทดลอง หรือผลการทดลองที่เป็นประจักษ์พยานในการเสนอแบบจ าลองอะตอมของ
นักวิทยาศาสตร์ และอธิบายวิวัฒนาการของแบบจ าลองอะตอม
6. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และระบุจ านวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอมจากสัญลักษณ์
นิวเคลียร์ รวมทั้งบอกความหมายของไอโซโทป
7. อธิบายและเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อยเมื่อทราบเลขอะตอมของธาตุ
8. ระบุหมู่ คาบ ความเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ของธาตุเรพรีเซนเททีฟ และธาตุแทรนซิชันในตารางธาตุ
9. วิเคราะห์และบอกแนวโน้มสมบัติของธาตุเรพรีเซนเททีฟตามหมู่และตามคาบ
- 150 -