Page 10 - ประวัติศาสตร์ชาติไทย สมัยรัตนโกสินทร์
P. 10

3. ปัจจัยส ำคัญในกำรตั้ง กรุงเทพมหำนคร เป็นเมืองหลวงใหม่

                   เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้เสด็จขึ้นครองราชย์

            แล้วในวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๓๒๕ ได้ย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรีมาอยู่ทางฝั่ง

            ตะวันออกของแม่น้ าเจ้าพระยา และตั้งชื่อเมืองแห่งใหม่นี้ว่า “กรุงเทพมหำนคร”

            ด้วยทรงวินิจฉัยว่าบริเวณที่ตั้งราชธานีใหม่มีความเหมาะสมหลายประการ ดังนี้


                   3.1 ทางฝั่งกรุงเทพฯเป็นที่ชัยภูมิเหมาะสมเพราะเป็นหัวแหลมถ้าสร้างเมือง

            แต่เพียงฟากเดียว จะได้แม่น้ าใหญ่เป็นคูเมืองทั้งด้านตะวันตกและด้านใต้ เพียงแต่

            ขุดคลองเป็นคูเมืองแต่ด้านเหนือและด้านตะวันออกเท่านั้น ถึงแม้ว่าข้าศึกจะเข้ามา

            โจมตีก็พอต่อสู้ได้


                   3.2 เนื่องด้วยทางฝั่งตะวันออกนี้ พื้นที่นอกคูเมืองเดิมเป็นพื้นที่ลุ่มที่เกิดจาก


            การตื้นเขินของทะเล ข้าศึกจะยกทัพมาทางนี้คงท าได้ยาก ฉะนั้นการป้องกันพระ
            นครจะได้มุ่งป้องกันเพียง ฝั่งตะวันตกแต่เพียงด้านเดียว


                   3.3 ฝั่งตะวันออกเป็นพื้นที่ใหม่ สันนิษฐานว่าชุมชนใหญ่ในขณะนั้นคงจะมีแต่

            ชาวจีนที่เกาะกลุ่มกันอยู่จึงสามารถขยายออกไปได้อย่างกว้างขวาง และขยายเมือง

            ได้อย่างกว้างขวาง
































                                             ผังเมืองรัตนโกสินทร์


              5
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15