Page 22 - สรปสาระสำคญ-แรงบนดาลใจแหงชวต_Neat
P. 22
2.2.1 ปัจจยั ที่เป็นปัญหา
คือ สิ่งที่มาสร้างความกงั วล รบกวนจิตใจ เป็ นคาถาม ก่อให้เกิด
ความกระวนกระวายต้องการ จะต้องทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้เกิดความสบายใจขึน้
สิง่ ท่ีมารบกวนจติ ใจนนั้ คอื ปัญหา
2.2.2 ปัจจยั ที่เป็นความต้องการ
คือ สิ่งที่มีความอยากได้ในส่ิงที่ยงั ไม่ได้ครอบครอง จึงต้องคิดค้น
หาวิธีการที่จะทาเพ่ือให้ได้สงิ่ นนั้ มาครอบครอง
2.2.3 ปัจจยั ท่ีชวนสงสยั
คือ ส่ิงที่ทาให้เกิดความครุ่นคิด อยากรู้อยากเห็น และต้องพยายาม
คดิ หาหนทางในการคลายความอยากรู้ในสิ่งนนั้
สรุป กระบวนการทางความคิดนนั้ เร่ิมต้นด้วยปัญหาซง่ึ เป็ นปัจจยั ท่ีถูกส่งไป
ยังสมองท่ีมีคุณสมบัติ อันได้ แก่ ความสามารถที่เกิดขึน้ ตามการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์ที่ได้สะสมไว้และเกิดการตอบสนองด้วยการกระทา หรือพฤติกรรม
อนั จะนาไปสคู่ วามสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ที่ได้ตงั้ ไว้
2.3 ลักษณะของการคิด
การคดิ แบง่ ออกได้หลายรูปแบบ ขนึ ้ อยกู่ บั คณุ ลกั ษณะตา่ งๆ ดงั นี ้ (ลกั ขณา
สริวฒั น์. 2549)
2.3.1 แบง่ ตามลกั ษณะทวั่ ไป ได้แก่
2.3.1.1 การคิดที่ไม่มีจุดมุ่งหมายหรือการคิดแบบเชื่อมโยง
เป็ นการปล่อยจิตโดยไม่มีจุดมุ่งหมายท่ีแน่ชัด เกิดจากสิ่งเร้ ามากระตุ้นให้เกิด
สญั ลกั ษณ์ในสมองแทนเหตกุ ารณ์หรือวตั ถตุ า่ งๆ ได้แก่
1) การฝันกลางวัน หรือการนึกฝัน เป็ นการคิดนึกฝัน
ในขณะที่กาลงั ตื่นอยู่
2) การฝันกลางคืน จะเกิดขนึ ้ ตอนกลางคืนในขณะท่ีเราไม่
รู้ตวั มีความสมจริงเม่ือต่ืนขนึ ้ มาก็อาจจะจาได้หรือจาไมไ่ ด้ก็เป็ นได้
GEN0113 แรงบนั ดาลใจแหง่ ชีวติ I 17