Page 18 - แผนปฏิบัติราชการ สำนักนายกรัฐมนตรี ระยะที่ 2
P. 18
สงั คมเมอื งตลอดจนการเผชญิ มลพษิ จากการขยายตวั ของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ จงึ กอ่ ใหเ้ กดิ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั ต่าง ๆ มากข้ึน อาทิ โรคหลอดเลือดในสมอง โรคเบาหวาน ความดัน-โลหิตสูง ซึ่งข้อมูลจาก World Health Organization (WHO) ระบวุ า่ สถติ ผิ เู้ สยี ชวี ติ จากโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั มมี ากถงึ รอ้ ยละ ๗๑ ของประชากรทวั่ โลก หากแตผ่ ลจากการพฒั นาเทคโนโลยที เ่ี กดิ ขนึ้ นนั้ ไดส้ ง่ ผลถงึ ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยกี ารรกั ษาพยาบาล เพื่อช่วยในการเฝ้าระวังและพัฒนาการรักษาพยาบาลที่ดียิ่งขึ้น เช่น อุปกรณ์สาหรับสวมใส่ที่มีเซ็นเซอร์ ในการตรวจวัดความดัน วัดระดับน้าตาลในน้าเลือด และคล่ืนไฟฟ้าหัวใจ เป็นต้น
๕. การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ
การเปลยี่ นแปลงทางสภาพภมู อิ ากาศมแี นวโนม้ ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ และรนุ แรงขน้ึ โดยองคก์ าร เพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) คาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกอาจเพิ่มสูงข้ึน จากระดับอุณหภูมิก่อนยุคอุตสาหกรรมถึง ๑.๕ องศาเซลเซียส ภายใน พ.ศ. ๒๕๗๓ - ๒๕๙๕ ส่งผลให้ หลายภูมิภาคต้องเผชิญกับความผันผวนของภูมิอากาศในระดับความรุนแรงที่มากขึ้นและบ่อยคร้ังขึ้น อาทิ คล่ืนความร้อน ภาวะฝนท้ิงช่วง ภัยแล้ง และพายุ ซึ่งผลกระทบท่ีเกิดขึ้นจะสร้างความเสียหายท่ัวโลก ซ่ึงหากไม่มีการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจะสร้างความเสียหายต่อภาคการเกษตรมากกว่า ภาคการผลิตอื่น อาทิ ปริมาณผลผลิตลดลง ระยะเวลาให้ผลผลิตเปลี่ยนช่วงเวลาไป ในบางที่อาจเกิด ปัญหาน้าท่วม หรือน้าทะเลหนุน นอกจากนี้ ยังส่งผลต่อการแพร่ระบาดของโรคตามฤดูกาลมีแนวโน้ม รุนแรงขึ้น และเป็นปัจจัยเสริมให้เกิดโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้าในหลายพื้นที่ของโลกได้ เนื่องจากอากาศร้อน ทาให้พาหะนาโรคติดต่อบางชนิดเพ่ิมจานวนเร็วขึ้น โดยเฉพาะยุง แมลงวัน และหนู ซ่ึงการแพร่ระบาดของ โรคมีผลกระทบต่อสังคม ดังนั้น ท่ัวโลกจึงมีความพยายามในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตามความตกลงปารีสท่ีประเทศภาคีสมาชิกอนุสัญญากรอบการทางานแห่งสหประชาชาติ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) จา นวน ๑๙๗ ประเทศ ไดม้ มี ตเิ หน็ ชอบรว่ มกนั ที่จะจากัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลก โดยในปี พ.ศ. ๒๕๙๓ จะต้องลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สุทธิของโลกลงเป็นศูนย์ ในส่วนของประเทศไทยได้มีการพยายามผลักดัน BCG ซึ่งเป็นโมเดลทางเศรษฐกิจ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในการประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค
๖. ผลกระทบจากสงครามความขัดแย้งระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งระหว่างประเทศที่เกิดข้ึนของรัสเซียและยูเครน และการคว่าบาตรของสหภาพยุโรป ต่อสาธารณรัฐรัสเซียส่งผลกระทบในลักษณะห่วงโซ่มูลค่าของทุกภาคส่วนท่ัวโลก อาทิ เกิดวิกฤติพลังงาน ท่ีราคาสูงขึ้น กระทบต่อภาคการผลิตและภาคการส่งออกของหลายประเทศ สภาวะเงินเฟ้อส่งผลให้ หลายประเทศประสบปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจและมีหน้ีสาธารณะเพิ่มข้ึน นอกจากน้ี ในอนาคตมีแนวโน้ม ว่าประเทศจีนจะมีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ท่ีสุดของโลกและอาจมีบทบาทในการกาหนดระเบียบเศรษฐกิจ การเมืองโลกมากขึ้น และอาจเกิดความขัดแย้งกับขั้วอานาจดั้งเดิมอย่างสหรัฐอเมริกาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
แผนปฏิบัติราชการสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ระยะท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐)
7