Page 19 - แผนปฏิบัติราชการ สำนักนายกรัฐมนตรี ระยะที่ 2
P. 19

 บริบทการเปลั่ยนแปลังของไทยจากสำถานการณ์โควิด-๑๙
จากการวิเคราะห์ของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พบว่า ภายหลังจาก ประเทศไทยและทั่วโลกได้เผชิญกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือ โควิด-๑๙ จะนามาสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดาเนินชีวิตของประชาชน และการปรับตัวของภาคธุรกิจ เอกชน รวมถึงหน่วยงานของรัฐ โดยมีบริบทการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ ดังน้ี
๑. สังคมเปลี่ยนเข้าสู่ชีวิตวิถีใหม่ จากสถานการณ์โควิด-๑๙ ทาให้คนในสังคมมีการปรับเปล่ียน การดาเนินชีวิตในรูปแบบชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) เพื่อลดความเสี่ยงจากการสัมผัสใกล้ชิดระหว่างกัน ในสังคม โดยการดาเนินความสัมพันธ์ของชีวิตวิถีใหม่จะเชื่อมโยงระหว่างบุคคลด้วยรูปแบบออนไลน์มากขึ้น ท้ังการใช้จ่ายของครัวเรือน การทางานในลักษณะ Work from home การเข้าร่วมกิจกรรมผ่านระบบ การร่วมงานในรูปแบบภาพเสมือน ซึ่งชีวิตวิถีใหม่ดังกล่าวจะเป็นบรรทัดฐานการดาเนินชีวิตของคน ในยุคดิจิทัลต่อไป
๒. สถานการณ์โควิดเป็นตัวเร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบเศรษฐกิจและสังคมเข้าสู่ดิจิทัล อย่างรวดเร็ว ประเทศไทยพยายามผลักดันให้เกิดเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล โดยในภาคส่วนของราชการ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ได้กาหนดให้ราชการปรับตัวเข้าสู่ราชการ ๔.๐ อาทิ การพัฒนารูปแบบการให้บริการเป็นแบบดิจิทัลที่สอดรับกับความต้องการของผู้รับบริการและสามารถ รับบริการได้ในทุกสถานที่ ทุกเวลา ซึ่งสถานการณ์โควิด-๑๙ เป็นตัวเร่งให้หน่วยงานราชการและประชาชน เกิดการปรับตัวเพื่อให้สอดรับกับสังคมวิถีใหม่ และเกิดการนาเทคโนโลยีมาใช้เพิ่มมากขึ้น
๓. แรงงานนอกระบบ อาทิ ผู้ประกอบการอิสระ และแรงงานแพลตฟอร์มขาดหลักประกัน ทางสังคม จากงานวิจัยเพื่อศึกษาสภาพการทางานของแรงงานแพลตฟอร์ม โดยสานักงานกองทุนสนับสนุน การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ไดส้ า รวจกลมุ่ แรงงานแพลตฟอรม์ ในกรงุ เทพมหานคร-ปรมิ ณฑล และตา่ งจงั หวดั พบวา่ สว่ นใหญเ่ ปน็ การจา้ งงานใน ๓ กลมุ่ คอื (๑) กลมุ่ ขบั ขยี่ านพาหนะรบั จา้ ง (๒) กลมุ่ บรกิ ารรบั -สง่ อาหาร (๓) กลุ่มรับจ้างทางานบ้าน ซึ่งจากสถานการณ์โควิด-๑๙ ทาให้แรงงานบางอาชีพที่ขาดรายได้ จึงมีการผันตัว เป็นแรงงานแพลตฟอร์มเพิ่มมากขึ้น ซ่ึงการจ้างงานแพลตฟอร์มท่ีเกิดข้ึน ยังไม่มีกฎหมายคุ้มครองชัดเจน
๔. ภาวะการเรียนรู้ถดถอย จากข้อจากัดของการเรียนออนไลน์และมีเด็กบางส่วนหลุดออก จากระบบการศึกษา เนื่องจากข้อจากัดในการเข้าถึงระบบการศึกษาแบบออนไลน์ โดยนักเรียนหลายคน ยังขาดแคลนอุปกรณ์ อินเทอร์เน็ต หรือสภาพแวดล้อมในบ้านที่ไม่เอื้อต่อการเรียน นอกจากน้ี การจัดการ เรยี นการสอนแบบออนไลนอ์ าจไมเ่ กดิ ผลลพั ธท์ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ เนอื่ งจากบางทกั ษะมคี วามเฉพาะเจาะจง เชน่ ทักษะฝีมือ การทดลองทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงปัจจัยด้านความพร้อมของโรงเรียนและครูที่มีความแตกต่าง กันสูง จึงส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ของเด็กแตกต่างกันด้วย
๕. จา นวนคนยากจนเพม่ิ สงู ขนึ้ โดยเพมิ่ ขน้ึ จากปี ๒๕๖๒ ประมาณ ๑.๕ ลา้ นคน จากสถานการณ์ โควิด-๑๙ ทาให้หลายครัวเรือนในประเทศไทยประสบปัญหารายได้ที่ลดลง แม้บางครัวเรือนรายได้ลดลง จา นวนไมม่ าก หากแตส่ ถานการณด์ งั กลา่ ว กลบั ตอ้ งมกี ารใชจ้ า่ ยทจ่ี า เปน็ เพมิ่ มากขนึ้ โดยเฉพาะดา้ นเวชภณั ฑ์ และการตรวจรักษาพยาบาล รวมถึงค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา อาทิ อุปกรณ์การเรียนเพ่ือให้เด็กสามารถเรียน ออนไลน์ได้
แผนปฏิบัติราชการสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐)
8


























































































   17   18   19   20   21