Page 201 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 201
ซึ่งความเสื่อมสลายอย่างที่ปรากฏในภาพ ดังน้ัน ผู้รักสันติความสงบสุข จะต้องหาทางป้องกันอย่าให้ความโกรธเกิดข้ึน ในจิต โดยการเจริญเมตตา คือการมีความรักปรารถนาดีต่อกัน เพ่ือไม่ให้ความโทสะหรือโกธะเกิดขึ้นในจิต จนตกเป็นเหย่ือ แห่ง กิน กาม เกียรติ จะต้องศึกษาระแวดระวังท่ีจิต ด้วยการสังเกตความรู้สึกต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนท่ีจิตและดารงจิตให้ดี มิให้ มีส่ิงดังกล่าวเกิดขึ้นและครอบงาจิต โดยนาน้าคือเมตตาอันใสเย็น ไม่มีโคลนตม มารดจิตชโลมใจ แล้วก็ให้จิตน้ันเย็น เหมือนน้า อาศัยน้าคือธรรมน้าใจ กลายเป็นน้าใจอันใสและชุ่มเย็น (มนาโป)
ธัมโม ระหะโท อะกัททะโม ไฟใดเล่า ฤาร้ายเท่า ไฟโทสะ รีบดับไฟ ภายใน ด้วยพระธรรม ประการหน่ึง ซึ่งขาด พระศาสนา ครั้นจะดับ ไฟร้อน ผ่อนให้เย็น
ธรรมะเหมือนห้วงน้าใส ไม่มีโคลนตม จากโกธะ พาใจ ให้ถลา
ปัญญาล้า ดับสนิท จิตสบาย ท่ัวโลกา เกิดทุกข์ ภัยขุกเข็ญ ก็ต้องเป็น ไมตรี ปรานีกัน
วิธีคิด ใช้แนวทางการสังเคราะห์ของศาสตราจารย์ ดร. เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักด์ิ ตามกระบวนการ บันได 7 ข้ัน และแนวทางการสร้างสรรค์ผลงานของศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง ตามแนวคิด การวิเคราะห์ ด้านรูปแบบ เทคนิคเชิงช่าง เน้ือหาสาระ คติความเชื่อ องค์ประกอบศิลป์ และสัญลักษณ์ของการแสดงออก ซึ่งสรุปการตีความตามแนวเรื่อง ได้แก่ ปฏิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ ธุดงค์ 13 ชุดภาพแกะสลักไม้ของเชอแมน และสมุดภาพปริศนาธรรมไทย ของท่านพุทธทาส ภิกขุ ท่ีสวนโมกขพลาราม นามาสู่การสังเคราะห์จินตภาพสมมติ และสรุปคัดเลือก นามาขยาย โดยเพิ่มความเป็นนวัตกรรม ภาพปริศนาธรรม แนวเร่ืองอริยสัจจ์ 4
วิธีทํา นาผลการวิเคราะห์ แนวเรื่องในภาพปริศนาธรรมของภาคใต้ และสรุปผลสัญลักษณ์ของการแสดงออก นามาสร้างองค์ประกอบใหม่ แนวความคิดใหม่ ให้มีความเป็นเอกภาพ ของรูปทรงเน้ือหาของแนวเร่ืองอริยสัจจ์ 4 (ทุกข์ และทุกข์สมุทัย) โดยมีความสอดคล้องของรูปแบบ แนวเรื่อง เทคนิควิธีการ และการแสดงออกท่ีมีลักษณะเฉพาะตน ให้มี ความเหมาะสมกบั พนื้ ทขี่ อง ภายในเจดยี พ์ ทุ ธคยา วดั ปญั ญานนั ทาราม ซงึ่ เปน็ การแกป้ ญั ญาในการรบั รหู้ ลกั ธรรมคา สอนของ พระพุทธเจ้า ออกแบบให้สอดคล้องกับภายในเจดีย์พุทธคยา สัญลักษณ์การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ท่ีจาลองมาจากอินเดีย
เจดีย์พุทธคยา สังเวชนียสถานจาลอง ณ วัดปัญญานันทาราม มีทั้งหมด 9 ชั้น แทนความหมายของนวโลกุตตร ธรรม 9 ประการ ได้แก่ มรรค 4 ผล 4 นิพพาน 1 โดยชั้นท่ี 9 เรียกว่า “ช้ันพุทธบารมี” อันเป็นส่ือแทน “พระนิพพาน” ประกอบด้วย 3 ห้อง ห้องชั้นนอก เรียกว่า “ห้องศรัทธา” ห้องชั้นกลาง เรียกว่า “ห้องปัญญํา” ห้องชั้นใน เรียกว่า “ห้องวิมุตติ” ภายในห้องปัญญา ประกอบด้วย ภาพปริศนาธรรม แนวเร่ือง อริยสัจจ์ 4
191