Page 26 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 26

  และได้ส่งผลให้เกิดแรง บันดาลใจในการสร้างงานพุทธศิลป์ขึ้นตามแนวคิดใหม่ โดยแนวคิดสาคัญภายใต้ธรรมยุติกนิกาย คือการให้ความสาคัญกับ “ความจริงเชิงประจักษ์” โดยเชื่อมโยงกับสิ่งท่ีได้รับการนิยามว่าเป็น “อารยะ” (ความเจริญ) ไม่ว่าสิ่งน้ันจะเป็นอดีตอันรุ่งโรจน์หรือจะเป็นความเจริญก้าวหน้าในโลกสมัยใหม่ก็ตาม (วิไลรัตน์ ยังรอดและธวัชชัย องค์วุฒิเวทย์, 2559: 6-23)
จิตรกรรมแนวตะวันตก กล่าวว่าฝีมือวาดภาพของขรัว อินโข่งเขียนภาพตามปริศนาธรรม ซ่ึงรัชกาลที่ 4 ทรงคิดข้ึนเมื่อทรงผนวชและครองวัดนี้ จิตรกรรมน้ีวาดบนพื้นท่ีเหนือช่องผนังหน้าต่าง แสดงถึงวิถีชีวิตหรือกิจกรรมต่างๆ ของชาวตะวันตก เช่น การพักผ่อนด้วยการชมกีฬาแข่งม้า นับว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงจากจิตรกรรมแบบแผนอุดมคติมาสู่ แบบอย่างตะวันตกคร้ังสาคัญ (สันติ เล็กสุขุม, 2554: 212)
ภําพที่ 1-1 จิตรกรรมฝาผนังอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร ศิลปะรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4
ปริศนาธรรมท่ีพบในจิตรกรรมฝาผนังจะแสดงภาพให้ขบคิดถึงความหมายของภาพ ซ่ึงมักจะเป็นภาพในธรรม ทมี่ ขี อ้ อปุ มาอปุ ไมย ภาพปรศิ นาธรรมมกั จะมรี ปู แบบการเขยี นรปู สบื ทอดตอ่ ๆกนั มา จงึ สามารถทราบไดแ้ นช่ ดั วา่ ภาพนคี้ อื ธรรมข้อใดหรือบางทีก็มีจารึกระบุไว้อย่างแน่ชัด (วรรณิภา ณ สงขลา, 2534: 98)
ความโดดเดน่ ของภาพทวี่ าดโดยขรวั อนิ โขง่ คอื การรเิ รมิ่ ใชเ้ ทคนคิ การวาดภาพตามหลกั ทศั นยี วทิ ยา (Perspective) แบบตะวันตก ท้องฟ้ามีมิติสมจริงรวมถึงการใช้สีอ่อนแก่มีแสงเงา ทาให้ภาพมีระยะใกล้ไกล ลึกต้ืนดูเหมือนจริง (วิไลรัตน์
        16
          




























































































   24   25   26   27   28