Page 92 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 92
ควํามเชื่อในวรรณกรรมท้องถ่ิน “ลิงขําว-ลิงดํา” ภาพเขียนวรรณกรรมท้องถิ่นเป็นส่วนหน่ึงท่ีควบคุมสังคม ให้ดาเนินไปในทางที่ถูกต้องและดีงาม การเล่นหนังตะลุงของภาคใต้ในอดีตจะมีการออกลิงหัวค่าหรือการเชิดลิงขาวกับ ลิงดา เป็นธรรมเนียมอย่างหนึ่ง มีฤๅษีอยู่กลางลิงขาวกับลิงดาอยู่คนละข้าง แต่ปัจจุบันได้เลิกแล้ว เพราะฉะนั้นวรรณกรรม ลงิ ขาวกบั ลงิ ดา ทปี่ รากฏบนจติ รกรรมฝาผนงั วดั โพธปิ์ ฐมาวาส จงึ มพี นื้ ฐานมาจากการเลน่ หนงั ตะลงุ มหรสพทเี่ ปน็ เอกลกั ษณ์ ของชาวภาคใต้ซ่ึงเป็นภาพแทรกอยู่ในจิตรกรรมฝาผนังภาพปริศนาธรรมวัดโพธ์ิปฐมาวาส
ควํามเชื่อในศําสนําพรําหมณ์
- ความเชื่อในวรรณกรรมเร่ืองรามเกียรต์ิหรือรามยณะ เป็นสงครามมนุษย์กับยักษ์ เปรียบได้เป็นสังคมความ ดีและความชั่ว (สมชาติ มณีโชติ, 2529:110-112) เป็นท่ีนิยมของช่างนามาเป็นส่วนประกอบท่ีสาคัญในภาพจิตรกรรม ฝาผนงั ดงั เชน่ ภาพตวั ละคร ไดแ้ ก่ นลิ พทั ร มจั ฉานุ เปน็ ตน้ โดยชา่ งนา ภาพดงั กลา่ วมาวาดแบกฐานพระพทุ ธรปู เพอื่ เปน็ การ แสดงถึงความสัมพันธ์กันของความเชื่อในศาสนาพราหมณ์กับพุทธศาสนา
ควํามเชอื่ ทอ้ งถนิ่ ภําคใตม้ คี วามเชอื่ การเวยี นวายตายเกดิ ของศาสนาพทุ ธเปน็ หลกั ผสมผสานกบั ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีด้ังเดิมของท้องถิ่นภาคใต้ ดังปรากฏการเขียนภาพการเผาศพแบบสามส้างของคนในภาคใต้ด้วยภาพกาลังใช้ไม้ เขยี่ ไฟใตว้ ตั ถทุ รงสเี่ หลยี่ ม ซงึ่ วางอยใู่ นประรา พธิ ี ซงึ่ เปน็ บคุ ลาธษิ ฐานใหผ้ ทู้ ไี่ ปเผาศพหรอื เหน็ ภาพแลว้ ไดเ้ ตอื นสตติ นในการ เกิดดับของสังขาร
ควํามเชื่อในศิลปะจีน โดยเฉพาะศาสนาฝ่ายมหายานซ่ึงรับอิทธิพลจากอินเดียชาวจีนมีความเช่ือด้ังเดิมเกี่ยวกับ สวรรค์ ดวงวิญญาณและบูชาบรรพบุรุษ เมื่อพุทธศาสนาเข้ามาหล่อหลอมรวมกับศิลปะจีนจึงเป็นผลสะท้อนจากความ เช่ือสวรรค์ ดวงวิญญาณ การบุชาบรรพบุรุษท้ังลัทธิเต๋า ขงจื้อ และพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน (สันติ เล็กสุขุม, 2554: 195) จากความเช่ือดังกล่าวช่างจึงวาดภาพการบูชาฮวงซุ้ยบรรพบุรุษตามความเช่ือดั้งเดิมของชาวจีนเพื่อความเป็นสิริมงคล เจริญงอกงามและแสดงถึงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ
ควํามเช่ือในศําสนําอิสลําม ภาพขบวนแห่ศพเจ้าเซ็นเป็นพระศพผู้นาในศาสนาอิสลาม นิกายซีอะห์เป็นการ บันทึกเร่ืองราวพิธีกรรมเน่ืองในความตาย เป็นบุคคลหน่ึงในห้าอันเป็นที่เคารพของผู้นับถือนิกายซีอะห์ จะตกแต่งขนวน อย่างสวยงามสาวกในขนวนต่างมีเลือดโทรมกาย อันเกิดจากการกรีดศีรษะหรือทารุณกรรมตนเองตามความเช่ือซ่ึงเป็น สว่ นประกอบของพธิ กี รรม ชา่ งไดว้ าดภาพจา ลองและบนั ทกึ ความเชอื่ ในพธิ กี รรมดงั กลา่ วไวอ้ นั เปน็ การแสดงถงึ ความสา คญั และความภาคภูมิใจของผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามในจังหวัดสงขลาและภาคใต้
ความเช่ือของศาสนา ซ่ึงเป็นพิธีกรรมเนื่องในความตาย ช่างจะวาดไว้ผนังเดียวกัน ซ่ึงจะให้ความสาคัญและ บอกเล่าถึงการอยู่ร่วมกันของท้ัง 3 ศาสนาในชุมชน สังคมตามความเช่ือของแนวเร่ือง ไตรลักษณ์ ของไม่เท่ียงมีการเกิด ดับ เป็นวัฏสงสารการเวียนว่ายตายเกิด ส่ือแสดงออกเพ่ือให้เกิดความสามัคคี ลดความขัดแย้งเกิดความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกันในชีวิตและสังคมภาคใต้
82