Page 93 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 93

  สรุปกํารวิเครําะห์หลักการเขียนภาพปริศนาธรรมในจิตรกรรมฝาผนังภาคใต้ที่สอดคล้องกับคติความเช่ือเรื่องราว หลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า ดังปรากฏวัดโพธิ์ปฐมวาส ช่างจะเขียนจบเป็นบางเร่ืองบางตอนและมีความหลาก หลายของคติความเชื่อ เช่น ความเช่ือในศาสนาพุทธ ในภาพปริศนาธรรมแนวเร่ือง ปฏิจจสมุปบาท ธุดงค์ 13 อสุภะ 10 ไตรลักษณ์ ไตรภูมิ วรรณคดีรามายณะ วรรณกรรมของท้องถ่ินภาคใต้ ผสมผสานกับคติความเช่ือของศาสนาอิสลาม วัฒนธรรมจีน คติความเชื่อท้องถิ่นภาคใต้ โดยการวาดภาพจากฝีมือช่างหลวงและช่างท้องถ่ิน ซึ่งมีจุดมุ่งหมายที่แสดง ให้เห็นถึงเหตุแห่งการเกิดทุกข์ ทางดับทุกข์ มรรคผลของการดับทุกข์ และภาพที่แสดงถึงวัฏสงสารการเวียนว่ายตายเกิด ในวัฒนธรรมแต่ละศาสนาช่างจะวาดผสมผสานไว้ต่อเน่ืองและจบเป็นตอนในผนังเดียวกันเพื่อลดความขัดแย้งในศาสนา เกิดความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันของสังคมและในชุมชน โดยช่างจะแสดงออกในภาพปริศนาธรรมเพื่อให้สังคมและชุมชน ได้เรียนรู้หลักธรรมผ่านงานจิตรกรรมฝาผนัง
2.5 กํารจัดองค์ประกอบศิลป์ภําพปริศนําธรรม
การจัดองค์ประกอบศิลป์ภาพปริศนาธรรม แนวเร่ืองปฏิจจสมุปบําท ธุดงค์ 13 อสุภะ 10 ไตรลักษณ์
ไตรภูมิ วรรณคดีรํามํายณะ วรรณกรรมของท้องถิ่นภําคใต้ ในจิตรกรรมฝาผนังวัดโพธิ์ปฐมวาสและวัดอ่ืนๆ ในภาคใต้ ที่มีรูปแบบการเขียนภาพและเน้ือหาสาระของเร่ืองในการแสดงออกท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ในเร่ืองปริศนาธรรมและ ผสมผสานภาพความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรม เช่น ศิลปวัฒนธรรมจีน ศิลปวัฒนธรรมตะวันตก ศิลปวัฒนธรรม อิสลาม วัฒนธรรมท้องถ่ินภาคใต้ ช่างเขียนได้จัดองค์ประกอบภาพไว้ในวัดเดียวกัน ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับการเขียน จติ รกรรมฝาผนงั ทางภาคกลาง และลกั ษณะของงานจติ รกรรมทเี่ ขยี นในหนงั สอื บดุ หรอื สมดุ ขอ่ ย ดงั เชน่ ภาพปฏจิ จสมปุ บาท และนรกภมู ิ เปน็ ตน้ รปู แบบและวธิ กี ารจดั องคป์ ระกอบศลิ ปข์ องจติ รกรรมฝาผนงั จะไมม่ กี ฎเกณฑต์ ายตวั ชา่ งเขยี นคอ่ นขา้ ง มีอิสระในการแสดงออกรูปแบบรูปทรงและเนื้อหาการจัดภาพ การลาดับภาพได้อย่างเต็มท่ี และช่างได้ยกเลิกระเบียบการ แบง่ ชอ่ งภาพ ดว้ ยการจดั องคป์ ระกอบของภาพตามเสน้ สนิ เทาหรอื แถบเสน้ หยกั ฟนั ปลา ทใี่ ชค้ นั่ เนอื้ หาสาระและเหตกุ ารณ์ ย่อย ๆ แต่ใช้วิธีการเพ่ิมและลดขนาดของรูปทรงตามความสาคัญ ก่อนหลังในแต่ละช่องภาพ
กํารจัดองค์ประกอบทัศนศิลป์ ถือว่า มีส่วนสาคัญในการสร้างผลงานซ่ึงจะทาให้ผลงานเหล่านี้มีความเป็น เอกภาพเปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั โดยมสี ว่ นประกอบระหวา่ งรปู ทรงกบั เนอ้ื หา ทม่ี กี ารประสานกลมกลนื กนั ซงึ่ รปู ทรง (Form) เป็นองค์ประกอบรูปธรรม เน้ือหํา (Content) เป็นองค์ประกอบนามธรรม ดังนั้นองค์ประกอบที่เป็นโครงสร้างหลักของ งานศิลปะ คือ รูปทรงกับเนื้อหา (ชลูด น่ิมเสมอ, 2534: 18) และส่วนท่ีสาคัญที่สุดในการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรม คือ การประสานสัมพันธ์กันอย่างมีเอกภาพของทัศนธาตุ ได้แก่ เส้น สี รูปทรง นาน้าหนัก พื้นผิว ที่ว่าง ปริมาตร มวล ฯลฯ ถ้าผลงานใดสร้างรูปทรงไม่มีเอกภาพ ถือว่าผลงานไม่สมบูรณ์ ผลงานขาดชีวิต ขาดเน้ือหา ไม่สามารถแปลหรือ ส่ือความหมายได้ตามเนื้อหา ซ่ึงจะนามาสู่ความงาม ความน่าสนใจ ความประทับใจ แก่ผู้ดู สิ่งเหล่านี้ที่เกิดข้ึนภายในผลงาน จะต้องมีหลักองค์ประกอบ มาจัดวางประสานเพ่ือให้เกิดความงามข้ึน ดังน้ี
  83
          




























































































   91   92   93   94   95