Page 2 - สรุปองค์ความรู้ PCL โดย ดร.ประจักษ์ ศรสาลี
P. 2
1.4 ไม่แก้ปัญหาการท างานของครู
1.5 ไม่ส่งเสริมให้ครูพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
2. สถานการณ์การอบรมและพัฒนาครูในประเทศต่าง ๆ
2.1 วางแผนและออกแบบโดยผู้บริหาร
2.2 ครูเข้ารับการอบรมไม่ทั่วถึง
2.3 ระยะเวลาการอบรมครูไม่ช่วยให้เกิดการพัฒนาที่แท้จริง
2.4 เป็นการบรรยายหรือประชุมเชิงปฏิบัติการ
2.5 ขาดการติดตาม
2.6 การอบรมครูเป็นงานพิเศษนอกเหนือหน้าที่ประจ า
2.7 การอบรมเป็นการเพิ่มภาระให้ครู
2.8 ครูขาดสอน
2.9 การอบรมไม่สะท้อนภาพที่แท้จริงของการจัดการเรียนการสอน
2.10 การประเมินการอบรมจากจ านวนครูที่เข้าอบรม
อย่างไรก็ตาม เครื่องมือพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษากระบวนการหนึ่ง ที่จะ
ช่วยส่งเสริม สนับสนุนให้ครูสามารถพัฒนาตนเอง พัฒนางานอย่างมืออาชีพได้ก็คือ “การสร้าง
ชุมชนแห่งการเรียนรู้” หรือที่เราเรียกกว่า PLC (Professional Learning Community) ปัจจุบัน
ก.ค.ศ. ได้ก าหนดเป็นเกณฑ์หนึ่งที่ส าคัญในการขอมีและขอเลื่อนวิทยฐานะของข้าราชการครู
ดังนั้น ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องจ าเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะใช้
PLC เป็นเครื่องมือในการพัฒนาตนเองและพัฒนางานร่วมกันอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง จนเป็น
วัฒนาธรรมขององค์กรต่อไป
ความหมายของ PLC
PLC หรือชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาจากภาษาอังกฤษสามค า คือ
Professional หรือ "มืออาชีพ" เป็นค าคุณศัพท์ มาจากค าว่า profess แปลว่า ยอมรับ
นับถือ การท างานอย่างมืออาชีพ หมายถึง การท างานที่เป็นที่ยอมรับ นับถือ การท างานด้วย
ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ถ้าใช้กับคนเราเรียกว่า Professor คือ คนที่เชี่ยวชาญหรือเก่งในเรื่อง
นั้น ๆ และยังรอบรู้ทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ๆ ด้วย การท างานอย่างมืออาชีพ จึงเป็น
การท างานที่คนท าต้องรู้และเข้าใจประเด็นปัญหาและความต้องการ สาเหตุ มีความรู้หรือหลักการ
ในการแก้ปัญหา รู้ว่าต้องท าอะไร ใช้วิธีการอย่างไร ถ้าต้องใช้คนให้ช่วยท างาน จะต้องรู้ว่าให้คน
ไหนท างานแล้วจึงบรรลุเป้าหมาย ต้องรู้กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง รู้หรือคาดคะเนได้ว่า จะเกิด
ปัญหาอะไรบ้างในการท างานเพื่อหาทางป้องกันแก้ไข รู้ว่างานที่ท าเสร็จแล้วจะเกิดประโยชน์
2