Page 122 - หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค.31001
P. 122

115




                   เรื่องที่  1  การวิเคราะหขอมูลเบื้องตน


                   ความหมาย
                          คําวา  “สถิติ”  เปนเรื่องที่มีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอการตัดสินใจหรือวางแผน  ซึ่งแตเดิม

                   เขาใจวา  สถิติ  หมายถึง  ขอมูลหรือขาวสารที่เปนประโยชนตอการบริหารงานของภาครัฐ  เชน  การ

                   จัดเก็บภาษี  การสํารวจผลผลิต  ขอมูลที่เกี่ยวของกับประชากร  จึงมีรากศัพทมาจากคําวา  “State”  แต

                   ปจจุบันสถิติ  มีความหมายอยู  2  ประการ  คือ
                          1.    ตัวเลขที่แทนขอเท็จจริงที่มีการแปรเปลี่ยนไปตามปริมาณสิ่งของที่วัดเปนคาออกมา  เชน

                   สถิติเกี่ยวกับจํานวนนักเรียนในโรงเรียน  จํานวนนักเรียนที่มาและขาดการเรียนในรอบเดือน  ปริมาณ

                   น้ําฝนในรอบป  จํานวนอุบัติเหตุการเดินทางในชวงปใหมและสงกรานต  เปนตน
                          2.  สถิติในความหมายของวิชาหรือศาสตรที่ตรงกับภาษาอังกฤษวา  “Statistics”   หมายถึง

                   กระบวนการจัดกระทําของขอมูลตั้งแตการเก็บรวบรวมขอมูล    การวิเคราะหขอมูล  การนําเสนอขอมูล

                   และการตีความหรือแปลความหมายขอมูล  เปนตน

                          การศึกษาวิชาสถิติจะชวยใหผูเรียนมีความรูความเขาใจในระเบียบวิธีสถิติที่เปนประโยชนใน
                   ชีวิตประจําวัน  ตั้งแตการวางแผน  การเลือกใช  และการปฏิบัติในการดําเนินงานตาง ๆ  รวมทั้งการ

                   แกปญหาในเรื่องตาง ๆ  ทั้งในวงการศึกษาวิทยาศาสตร  การเกษตร  การแพทย  การทหาร  ธุรกิจตาง ๆ

                   เปนตน  กิจการตาง ๆ  ตองอาศัยขอมูลสถิติและระเบียบสถิติตาง ๆ  มาชวยจัดการ  ทั้งนี้เนื่องจากการ
                   ตัดสินใจหรือการวางแผน  และการแกปญหาอยางมีหลักเกณฑจะทําใหโอกาสที่จะตัดสินใจเกิดความ

                   ผิดพลาดนอยที่สุดได

                          นอกจากนี้หลักวิชาทางสถิติยังสามารถนําไปประยุกตใชกับการจัดเก็บรวบรวมขอมูล  เพื่อความ
                   จําเปนที่ตองนําไปใชงานในดานตางๆ   โดยเฉพาะอยางยิ่งทําใหทราบขอมูล  และทําความเขาใจกับ

                   ขาวสารและรายงานขอมูลทางวิชาการตาง ๆ  ที่นําเสนอในรูปแบบของตาราง  แผนภูมิ  แผนภาพ  กราฟ

                   ซึ่งผูอานหากมีความรูความเขาใจในเรื่องของสถิติเบื้องตนแลว  จะทําใหผูอานสามารถรูและเขาใจใน
                   ขอมูลและขาวสารไดเปนอยางดี



                         1.1 ชนิดของขอมูล อาจแบงไดเปนดังนี้

                              1.  ขอมูลเชิงคุณภาพ  (Qualitative data)   เปนขอมูลที่แสดงถึง คุณสมบัติ  สภาพ  สถานะ
                   หรือความคิดเห็น  เชน  ความสวย ระดับการศึกษา เพศ อาชีพ เปนตน

                              2.  ขอมูลเชิงปริมาณ  (Qualitative  data )  เปนขอมูลที่เปนตัวเลข เชน ขอมูลที่เกิดจากการ

                   ชั่ง ตวง  หรือ คาของขอมูลที่นําปริมาณมาเปรียบเทียบกันได  เชน  ความยาว  น้ําหนัก  สวนสูง  สถิติของ

                   คนงานแยกตามเงินเดือน  เปนตน
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127