Page 44 - PDCAชีวะ
P. 44

ข้อมูลพื้นบ้าน

                                (สอบถามผู้เชี่ยวชาญ/ปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น)




            ชื่อพื้นเมือง (ชื่อในท้องถิ่นที่เก็บตัวอย่างพันธุ์ไม้)  ตีนเป็ดนํ้า



            การใช้ประโยชน์ในท้องถิ่น (ระบุส่วนที่ใช้และวิธีการใช้) :

            อาหาร  -

            ยารักษาโรค  เมล็ดมีฤทธิ์ต่อหัว ช่วยบํารุงหัวใจ แก่นมีรสเฝื่อน ช่วยกระจายลม กระจายเลือด กระจาย

            ลมอันฑพฤกษ์ แก้ลมอัณฑพฤกษ์ รากมีรสเฝื่อน ช่วยขับเสมหะ ช่วยขับผายลม



            ก่อสร้าง เครื่องเรือน เครื่องใช้ -


            ความเกี่ยวข้องกับประเพณี วัฒนธรรม หรือความเชื่อทางศาสนา  -


            อื่น ๆ (เช่นการเป็นพิษอันตราย)  ผล เนื้อในผล ใบ และนํ้ายางจากต้นมีฤทธิ์ทําให้อาเจียนและเป็นยา

            ถ่าย ยาระบาย หากรับประทานมากอาจทําให้เสียชีวิตได้ ยางจากต้น ใบ ผล และเนื้อในผลมีพิษเป็น

            อันตราย ไม่ควรสัมผัสโดยตรงเพราะจะทําให้เกิดอาการระคายเคือง เมล็ดมีฤทธิ์เป็นยาถ่ายและเป็นยา

            ทําให้แท้งบุตร เมล็ดตีนเป็ดนํ้ามีรสขม มีสารที่ออกฤทธิ์ต่อหัวใจที่เรียกว่าสาร “คาร์เบอริน” (Cerberin)


            ซึ่งเป็นตัวยาที่มีโครงสร้างเดียวกันกับที่ใช้ในยากระตุ้นหัวใจ โดยมีการนํามาใช้ในการวางยาพิษโดย

            ผสมกับอาหารที่มีรสจัด หากได้รับในปริมาณมากก็สามารถฆ่าคนได้



            ที่มาของข้อมูล / ผู้ให้ข้อมูล ดร.นิจศิริ เรืองรังษี, ธวัชชัย มังคละคุปต์         อายุ     -


            ที่อยู่  -

            วันที่บันทึกข้อมูล    2 ธันวาคม  2561                                                        สถานที่ โรงเรียนศึกษานารี
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49