Page 7 - จุลสาร 64_4
P. 7

- ระบบกักเก็บพลังงานด้วยเซลล์เชื้อเพลิงร่วมกับพลังงานลม (Wind Hydrogen

                                                       ้
                                                                                                  ้
               Hybrid System) เป็นการกักเก็บพลังงานไฟฟาในรูปแบบก๊าซไฮโดรเจน เมื่อกังหันลมผลิตไฟฟาได้มาก
                                                                                    ้
               เกินความต้องการของระบบ ไฟฟาจะถูกน าไปจ่ายให้กับเครื่องแยกน้ าด้วยไฟฟาท าหน้าที่แยกน้ า (H2O)
                                            ้
               ออกเป็นก๊าซออกซิเจน (O2) และก๊าซไฮโดรเจน (H2) โดยก๊าซไฮโดรเจนจะถูกน าไปกักเก็บในถังบรรจุ
                                                           ้
                                                                                                        ื่
               ก๊าซไฮโดรเจน ก่อนน าก๊าซไฮโดรเจนมาผลิตไฟฟาโดยผ่านเซลล์เชื้อเพลิง (Hydrogen Fuel Cell) เพอ
               จ่ายไฟฟ้าในช่วงที่มีความต้องการไฟฟ้าสูง มีโครงการน าร่องที่ศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. ล าตะคอง จ. นครราชสีมา
               เพื่อจ่ายไฟให้กับศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. ล าตะคอง

                                          ั
                                                                 ื่
                                                                                                 ้
                                   2.2 การพฒนาระบบ Smart Grid เพอยกระดับความสามารถของระบบไฟฟา (Smart
                                     ้
                                                                                                        ้
                                                                                 ้
               System) ท าให้ระบบไฟฟามั่นคงและมีประสิทธิภาพ ลดความต้องการโรงไฟฟาส ารอง จ านวนการเกิดไฟฟา
                                                          ้
                                                                                                        ้
               ดับ และการสูญเสียจากการ ส่งและจ าหน่ายไฟฟา รวมทั้งช่วยยกระดับคุณภาพบริการที่มีต่อผู้ใช้ไฟฟา
               (Smart Life) และส่งเสริมให้มีการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้มากขึ้น
                                                                            ื่
                                   2.3 โครงการ ERC Sandbox มีวัตถุประสงค์เพอส่งเสริมการวิจัยนวัตกรรมที่น า
                                                                                              ้
               เทคโนโลยีมาสนับสนุนการให้บริการด้านพลังงาน 5 ประเภท ได้แก่ (1) โครงสร้างตลาดไฟฟารูปแบบใหม่
                                                             ั
               เช่น Peer to Peer Energy Trading (2) โครงสร้างอตราค่าบริการรูปแบบใหม่ เช่น Net Metering, Net
                                                     ้
               Billing (3) เทคโนโลยีใหม่เช่น ยานยนต์ไฟฟา (EV) และระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System)
                                                     ้
               (4) การจัดการและการปฏิบัติการระบบไฟฟารูปแบบใหม่ เช่น ระบบ Micro Grid และ (5) รูปแบบกิจการ
               ธุรกิจใหม่ด้านพลังงาน เช่น การซื้อขายไฟฟ้าผ่านคนกลาง (Supply and Load Aggregator)


                              3. มาตรการสนับสนุนแบตเตอรี่ส าหรับรถไฟฟ้า EV จากภาครัฐ ประกอบด้วย มาตรการด้าน
                                                                        ั
                                                                                         ั
                                                                                  ้
               ก าหนดให้มีการจัดการแบตเตอรี่ใช้แล้ว การให้เงินสนับสนุนสถานีอดประจุไฟฟา การพฒนาทักษะแรงงาน
                                           ้
                                                                                                  ้
               เกี่ยวกับเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟา การจัดท ามาตรฐานและจัดตั้งศูนย์ทดสอบส าหรับยานยนต์ไฟฟา การใช้
               มาตรการรัฐเพื่อการกระตุ้นตลาดในประเทศ การให้การส่งเสริมการลงทุน และการลดอัตราภาษีสรรพสามิต
                              จะเห็นได้ว่าปัจจุบันได้มีการน าระบบการกักเก็บพลังงานมาใช้อย่างหลากหลายและน่าจะมี

                                                ั
                                                                                                      ั
                                     ี
               การใช้งานที่เพมมากขึ้นอกในอนาคตอนใกล้ จึงเป็นประเด็นที่กรมสรรพสามิตจะต้องมีการศึกษาและพฒนา
                            ิ่
                                        ื่
               แนวทางในการจัดเก็บภาษีเพอให้เกิดการส่งเสริมในด้านเศรษฐกิจโดยให้เกิดผลกระทบต่อสังคมและความ
               เป็นอยู่ของประชาชนน้อยที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการน าคาร์บอนเครดิตมาใช้ในการก าหนดอตราภาษี หรือการ
                                                                                          ั
                                                                                                   ิ
                                                                                ื่
                                ื่
               ก าหนดมาตรการเพอให้เกิดการก าจัดซากแบตเตอรี่ที่ใช้แล้วอย่างชัดเจนเพอไม่ให้เกิดปัญหามลพษที่อาจ
                                                                                       ั
               เกิดขึ้นจากการสนับสนุนการใช้แบตเตอรี่ภายในประเทศที่เกิดจากการพัฒนาระบบการกกเก็บพลังงาน เป็นต้น

















                                                           [5]
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12